DSpace Repository

บทบาทของไทเก็กในฐานะวัฒนธรรมส่งเสริมสุขภาวะของคนไทยเชื้อสายจีนในประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.advisor แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย
dc.contributor.advisor Sangaroon Kanokpongchai
dc.contributor.author Huang, Meiyan
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts
dc.date.accessioned 2022-08-12T09:39:31Z
dc.date.available 2022-08-12T09:39:31Z
dc.date.issued 2014
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/602
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2557 th
dc.description.abstract บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา รูปแบบและวิธีการรำไทเก๊กของคนไทยเชื้อสายจีนในประเทศไทย และวิเคราะห์บทบาทของวัฒนธรรมการรำไทเก๊กที่มีต่อการส่งเสริมสุขภาวะของคนไทยเชื้อสายจีนในประเทศไทยโดยศึกษาจากเอกสารและแบบสัมภาษณ์ในการเก็บข้อมูลจากคนไทยเชื้อสายจีนที่รำไทเก๊กที่สวนลุมพินีและสวนหลวง ร.9 กลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งหมด 54 คนในเขตกรุงเทพมหานครเพื่อนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยการพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า ไทเก๊กได้เผยแพร่เป็้นที่รู้จักกันในสยามประเทศนี้เป็นเวลาช้านานแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498 นอกจากนี้ ได้มีการรวมตัวกันในหมู่ผู้ที่เคยศึกษาหรือรู้จักมวยไทเก๊กในประเทศไทยและส่งตัวแทนเดินทางไปเชิญอาจารย์ต่งอิงเจี๋ย (ตั่งเอ็งเกี๊ยก สำเนียงจีนแต้จิ๋ว) ซึ่งขณะนั้นเป็นผู้มีชื่อเสียงเรื่องมวยไทเก๊ก เข้ามาสาธิตวิชามวยไทเก๊กในประเทศไทยจนรู้จักกันแพร่หลายมาถึงปัจจุบัน ดังจะเห็นได้ว่ามีผู้ฝึกมวยไทเก๊กตอนเช้าๆ ตามสวนสาธารณะหรือลานกว้างต่างๆ ในเกือบทุกจังหวัดของประเทศไทยซึ่งการเรียนรู้รูปแบบ วิธีการของการรำไทเก๊กมีส่วนสำคัญต่อการสร้างเสริมสุขภาวะทั้งสี่ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านสังคม ด้านจิตใจ และด้านปัญญาให้แก่กลุ่มคนไทยเชื้อสายจีนและมีแนวโน้มที่จะเผยแพร่กว้างขวางมากขึ้นโดยไม่จำกัดเฉพาะชาวไทยเชื้อสายจีน th
dc.description.abstract This research has the purposes to study the Thai-Chinese people's training form of Tai Chi in Thailand and to analyze the culture of Tai Chi which permits 4 aspects of wellbeing. The tools of research are the documentation and interview Thai-Chinese people in Lumpini Park and Suangluang Rama 9 Public Park. Sample size was 54 people in Bangkok areas. The research is presented in descriptive research. The research reveals that Tai Chi has been being known in Siam since 1955. In additions, there was the gathering of people who used to learn and knew Tai Chi in Thailand and they invited Grandmaster Tong Ying Chieh (Tong Engkiek in Teochew language), very well-known Tai Chi master, to demostrate Tai Chi in Thailand untill Tai Chi is well known in the present. Nowadays, people practicing Tai Chi in the morning in public parks or public spaces in almost every province in Thailand. Learning the training forms of Tai Chi is important in enhancing four aspects of wellbeing as physical, social, mental and intelligent in Thai-Chinese people. Moreover, Tai Chi trends to spread more widely, not only in Thai-Chinese people. th
dc.language.iso th th
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.subject ไท้เก๊ก. th
dc.subject Tai Chi th
dc.subject ชาวจีน -- ไทย th
dc.subject Chinese -- Thailand th
dc.subject สุขภาวะ th
dc.subject Well-being th
dc.title บทบาทของไทเก็กในฐานะวัฒนธรรมส่งเสริมสุขภาวะของคนไทยเชื้อสายจีนในประเทศไทย th
dc.title.alternative The Role of Taijiquan As A Culture of Healthy Living of Chinese-Thais in Thailand. th
dc.type Thesis th
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต th
dc.degree.level ปริญญาโท th
dc.degree.discipline การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account