DSpace Repository

การเปรียบเทียบวัฒนธรรมชนเผ่าอาข่าของประเทศไทยและชนเผ่าฮาหนีของสาธารณรัฐประชาชนจีนในด้านความเชื่อและเครื่องแต่งกาย

Show simple item record

dc.contributor.advisor พัชรินทร์ บูรณะกร
dc.contributor.advisor Patcharin Buranakorn
dc.contributor.author Li, Houjie
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts
dc.date.accessioned 2022-08-20T12:14:37Z
dc.date.available 2022-08-20T12:14:37Z
dc.date.issued 2017
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/623
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2560 th
dc.description.abstract การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวัฒนธรรมทางด้านความเชื่อและเครื่องแต่งกายของชนเผ่าอาข่าของประเทศไทยและชนเผ่าฮาหนีของสาธารณรัฐประชาชนจีน และเพื่อเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างวัฒนธรรมของชนเผ่าอาข่าและชนเผ่าฮาหนี ใช้การวิจัยภาคสนามโดยเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างจากชนเผ่าอาข่าในหมู่บ้านป่ากล้วย อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ประเทศไทย จำนวน 20 คน และชนเผ่าฮาหนีในหมู่บ้านเจี๋ยหยิน อำเภอหงเหอ เขตปกครองตนเองหงเหอ สาธารณรัฐประชาชนจีน จำนวน 20 คน และนำเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัย พบว่า ชนเผ่าอาข่าในประเทศไทยมีความเชื่อถือที่เป็นหลักสำคัญ คือ ความเชื่อเกี่ยวกับบรรพบุรุษ ความเชื่อศาสนา และความเชื่อเกี่ยวกับพิธีกรรม ส่วนชนเผ่าฮาหนีในสาธารณรัฐประชาชนจีน มีความเชื่อเกี่ยวกับธรรมชาติ ความเชื่อจิตวิญญาณและเทพเจ้า และความเชื่อบรรพบุรุษในด้านวัฒนธรรมการแต่งกายชนเผ่าอาข่าในประเทศไทยมีการแต่งกายออกเป็น 3 กลุ่ม คือ อู่โล้วอาข่า โลมีอาข่า และผาหมีอาข่า ซึ่งจะแต่งกายของชนเผ่าอาข่าทั้ง 3 แบบ ไม่มีความแตกต่างกันมากจะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน และชนเผ่าฮาหนีในสาธารณรัฐประชนจีนเสื้อผ่าที่นำมาสวมใส่จะเกิดจากการทอขึ้นใช้เองและนำมาประดับด้วยเครื่องโลหะเงินเป็นส่วนใหญ่ วัฒนธรรมด้านความเชื่อในการแต่งกายมีความคล้ายคลึงกันเป็นส่วนใหญ่ ในด้านสีของเสื้อผ้าซึ่งเน้นสีดำ โดยเชื่อว่าเป็นสีแห่งชีวิตและเป็นสีมงคล ส่วนเครื่องประดับเครื่องแต่งกายเน้นการปักลวดลายที่สร้างสรรค์จากธรรมชาติ แสดงถึงการมีวัฒนธรรมเดียวกันซึ่งมีความแตกต่างกันตามลักษณะของภูมิประเทศของพื้นที่ที่อยู่อาศัยในประเทศต่างกัน th
dc.description.abstract This research aimes to study the beliefs and clothing of Akha tribal in Thailand and the Hani tribal in China and to analyze the cultural similarities and differences between these two groups. The research sites were Pa Kluay Village, Mae Fah Luang District, Chiang Rai, Thailand and Jiayin ( ), Honghe District, Hun He County, Yunnan, People's Republic of China. The key informants were 20 Akha people from Pa Kluay village, Mae Fah Luang district, Chiang Rao Province, Thailand, and 20 Hani people in the village of Jia Yin, Honghe District, Yunnan Province, China. The results of the study found that the Hani tribal clothing was woven and worn by Hani people and decorated with silver metal, black color painted. They belief that black is the color of life and auspicious. The Akha tribe of Thailand was divided into three types names "Uo Lao Akha" "Lome Akha" and "Pamee Akha" the clothe of these Akha people are not very different. Clothes were woven and worn by the groups and decorated with metal. The cultural of dressing of these two tribes looked very similar both in terms of color and decorations. The Akha were historical classified as part of the Hano people who moved to Thailand. Therefore both groups have similar culture. However there may be a slightly difference because of the characteristics of different terrains which cuased the different raw material used. th
dc.language.iso th th
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.subject วัฒนธรรม th
dc.subject อาข่า -- ความเป็นอยู่และประเพณี th
dc.subject ฮาหนี -- ความเป็นอยู่และประเพณี th
dc.subject ความเชื่อ th
dc.subject เครื่องแต่งกาย th
dc.subject ชนกลุ่มน้อย -- จีน th
dc.subject ชนกลุ่มน้อย -- ไทย th
dc.title การเปรียบเทียบวัฒนธรรมชนเผ่าอาข่าของประเทศไทยและชนเผ่าฮาหนีของสาธารณรัฐประชาชนจีนในด้านความเชื่อและเครื่องแต่งกาย th
dc.title.alternative A Comparative Study of Ethnic Groups Culture : the Akha in Thailand and the Hani in The people's Republic of China in Terms of Beliefs and Costumes th
dc.type Thesis th
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต th
dc.degree.level ปริญญาโท th
dc.degree.discipline การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account