dc.contributor.advisor |
พรวิภา วัฒรัชนากูล |
|
dc.contributor.advisor |
Pornvipa Watarachanakool |
|
dc.contributor.author |
Xu, Haisheng |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts |
|
dc.date.accessioned |
2022-09-03T15:25:57Z |
|
dc.date.available |
2022-09-03T15:25:57Z |
|
dc.date.issued |
2014 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/661 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2557 |
th |
dc.description.abstract |
การวิเคราะห์เกี่ยวกับเด็กและเยาวชนในนวนิยายของชมัยภร แสงกระจ่างนี้ มุ่งวิเคราะห์องค์ประกอบของนวนิยาย ปัญหาเด็กและเยาวชน รวมถึงแก้ไขปัญหา ตามที่ปรากฏในนวนิยายที่ศึกษา รวม 8 เรื่อง ได้แก่ บันทึกจากลูก(ผู้)ชาย (2534) บ้านนี้มีรัก (2542) คุณปู่แว่นตาโต (2543) ป้าจ๋า โก้ ติ๊ดตี่ น่ะจ้ะ (2544) ส้มโอ น้าหมู หนูแมว (2545) ริบบิ้นเขียวกับกล่องกระดาษแดง (2547) เด็กหญิงแห่งกลางคืน (2548) และคุณยายหวานซ่าส์ส์ส์ (2549) ผลการศึกษาพบว่า นวนิยายเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนของชมัยภร แสงกระจ่าง เสนอปัญหาเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนอย่างสอดคล้องสมจริงกับความมเป็นจริงในสังคมไทยร่วมสมัย โดยปัญหาเด็กและเยาวชนที่พบแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มหลัก คือ 1) ปัญหาของเด็ก (อายุ 8-11 ปี) พบปัญหา ได้แก่ ครอบครัวไม่สมบูร์ ผู้ใหญ่ไม่เคารพความคิดความต้องการของเด็ก การย้ายหรือเปลี่ยนที่อยู่ การขาดบุคคลต้นแบบตามเพศ ผลกระทบจากเศรษฐกิจและสังคม ความไม่เท่าเทียมกันระหว่างสังคมมเมืองหลวงกับชนบท และอิทธิพลวัฒนธรรมตะวันตก กับ 2) ปัญหาของเยาวชน/วัยรุ่น (อายุ 12-16 ปี) พบปัญหาได้แก่ การขาดต้นแบบเพศชาย/หญิง เรื่องแฟนและความสัมพันธ์ทางเพศ เรื่องสิ่งเสพติด ช่องว่างระหว่างวัย ความรักในวัยเรียน การเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมและคนคุ้นเคย ปมด้อยในจิตใจ ช่องว่างระหว่างเพศ/ขาดต้นแบบเพศหญิง และอคติเรื่องแม่เลี้ยง ในส่วนการแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชน พบการแก้ไขปัญหา 2 ลักษณะ คือ 1) การแก้ไขปัญหาโดยเด็กหรือเยาวชนเอง โดยมีวิธีการต่างๆ คือ เด็ก/เยาวชนพยายามแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง เด็กขอความช่วยเหลือจากผู้อื่น และการใช้สิ่งช่วยอื่นๆ กับ 2) การแก้ไขปัญหาโดยบุคคลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ แก้ไขโดยพ่อ-แม่หรือญาติใกล้ชิดกับแก้ไขโดยบุคคลทั่วไปที่พบเห็นปัญหา ข้อสรุปสำคัญของการศึกษานี้ กล่าวได้ว่านวนิยายเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนของชมัยภร แสงกระจ่าง มีความโดดเด่นที่สามารถสื่อความสดใสน่ารักของเด็ก และความซับซ้อนละเอียดอ่อนของเยาวชน/วัยรุ่นได้อย่างน่าสนใจ โดยเสนอมุมมองจากเด็กหรือเยาวชนเอง ในส่วนการแก้ไขปัญหาชมัยภรเสนอแนวคิดสำคัญว่า ปัญหาเด็กและเยาวชนไม่ใช่เรื่องเฉพาะตัวหรือเฉพาะครอบครัว แต่เป็นเรื่องของส่วนรวมที่บุคคลทุกฝ่ายทั้งที่เป็นญาติใกล้ชิด และไม่ใช่ญาติหรือบุคคลทั่วไปที่พบเห็นปัญหา ต้องช่วยกันแก้ไขเพื่อประคับประคองให้เด็กและเยาวชนเติบโตขึ้นอย่างมีความสุข เพื่อสังคมโดยรวมจะเป็นสังคมที่มีความสุขและน่าอยู่สำหรับทุกคนต่อไป |
th |
dc.description.abstract |
This analysis of Children and Adolescence in Chamaiporn Sengkrachang's Novels aims to analyze the major elements of the novle as well as problems and solutions of children and adolecsence presented in the 8 novels studied which are: A Man's Diary (Bun-tuk jak Luk-phu-cai, 1991), The House of Love (Barn nee Mee Luck, 1999), The Big-glasses Grandpa (Khun Poo Wan-ta To, 2000), Aunty-Ja, Ko and Tidtee (Pa-ja Ko Tidtee, naja, 2001), Som-O, Aunty-Moo and the Cat (Som-O No-moo Nu-maew, 2002), The Red Box with Green Ribbon (Ribbon-kaew kup Glong-gra-dard Dang, 2004), The Night Girl (Dek-ying hang Krang-keun, 2005) and Sweeties Grandma (Khun Yai Wan Sa-sss, 2006). The study finds that the problems and solutions of children and adolesence in Chamaiporn Sengkrachang's novels are realistic and coherent to contemporary Thai society. Two sets of problems are found which are: 1) problems of children (8-11 years old) and 2) problems of adolescensce (12-16 year old). In detail, problems of children are: the broken family; children's thoughts or desires are ignored; displaced children; the lack of role model persons; the economic and social effects; and influences of western culture, the lack of role model persons; the economic and social effectsl and influences of western culture, while problems of adolescence are; the lack of male/female role models; girlfriends and sex affairs; drugs generation gap; the premature love; the problem of adjustment; the fault guilt; gender gap; and the step-mother bias. Also, two ways of solutions for both children and adolescence problems are found, which are: 1) the self-help way and 2) the help from others. For the first way, children or adolescence will primarily try to solve the problems; the next step a request, to their intimates, is made; and then other resources are rended. The second way is referred to the help from the parents or dose relatives and also the encountered people of the problems. The major conclusion of this study is Chamaipron Seangkrachang's children novels are outstanding since the writer can talentedly convry to readers the innocent characteristics of children and teh complicated inner v iews of adolescence from their perspectives, while her main idea for the solution of children and adolescence problems is that every related party is responsible for the problems and has to cooperate to make children and adolescence happy in order to create the happy society for all. |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
ชมัยภร แสงกระจ่าง -- แนวการเขียน |
th |
dc.subject |
Chamaiporn Seangkrachang |
th |
dc.subject |
เด็กที่เป็นปัญหา |
th |
dc.subject |
Problem children |
th |
dc.subject |
การวิเคราะห์เนื้อหา |
th |
dc.subject |
Content analysis (Communication) |
th |
dc.subject |
นวนิยายไทย -- ประวัติและวิจารณ์ |
th |
dc.subject |
Thai fiction -- History and criticism |
th |
dc.title |
การวิเคราะห์เกี่ยวกับเด็กและเยาวชนในนวนิยายของชมัยภร แสงกระจ่าง |
th |
dc.title.alternative |
An Analysis of Children and Adolescence in Chamaiporn Seangkrachang's Novels |
th |
dc.type |
Thesis |
th |
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
th |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
th |
dc.degree.discipline |
การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง |
th |