Show simple item record

dc.contributor.advisor 李晓洁
dc.contributor.advisor หลี่ เสี่ยวเจี๋ย
dc.contributor.advisor Li Xiaojie
dc.contributor.author 陆碧霞
dc.contributor.author ศศิวิมล เรียนทับ
dc.date.accessioned 2022-09-05T03:42:55Z
dc.date.available 2022-09-05T03:42:55Z
dc.date.issued 2010
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/681
dc.description Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2010 th
dc.description.abstract ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้วรรณคดีจีน โพ้นทะเลในประเทศไทยมีความเป็นพื้นเมืองค่อนข้างโดดเด่นกว่าประเทศอื่นๆ อยู่มาก วรรณคดีจีนโพ้นทะเลยในประเทศไทย ไม่สอดคล้องกับวัฒนธรรมจีน แต่มีความสอดคล้องกับวัฒนธรรมไทย คือ มีเอกลักษณ์เป็นของตนเองซึ่งมีลักษณะที่แฝงศิลปะทางวัฒนธรรมไว้ด้วย ในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นั้นชาวจีนโพ้นทะเลยในประเทศไทยมีจำนวนมาก ชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยปรับตัวเข้ากับสังคมไทยได้อย่างลงตัว ประเทศไทยเป็นประเทศที่รับวัฒนธรรมของจีนเข้ามาช้านาน สมัยสุโขทัยวัฒนธรรมจีนเข้ามาในประเทศไทยแล้วได้มีการผสมผสานกัน และการผสมผสานกันนั้นได้สร้างสรรค์วรรณคดีรูปแบบใหม่ขึ้นมา คือ วรรณคดีจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย วรรณคดีจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยมีวิวัฒนาการพัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆ วรรณคดีจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยเป็นสาขาหนึ่งในวรรณคดีจีนในประเทศไทยเกิดความนิยมขึ้นสามครั้ง ล้วนทำให้วรรณคดีจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยได้รับผลสำเร็จเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการสร้างสรรค์ผลงานประพันธ์ทางด้านนวนิยาย และทำให้วรรณคดีจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยเป็นผลงานที่ได้รับความนิยมมากยิ่งขึ้น หลังสงครามสงบ มีผลงานการประพันธ์วรรณคดีจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยออกมา เช่น เหย่าว่านต๋า "สุภาพบุรุษเคี้ยวหมาก" เฉินติง "สาวสำเพ็ง" เป็นต้น ผลงานของถานเจิน "บ้านในเมืองภูเขา" เป็นต้น ปี 1956 หนีฉางโหย่ว และเซิ่นอี้เหวินรวมเจ็ดคนร่วมกันเขียนนวนิยาย ใส่ภาษาจีน ชิวหลิง เรียบเรียงเรื่อง ใส่ภาษาจีน ลงตีพิมพ์ ปี 1964 อี้เฝยกับผู้เขียนอีกเก้าคนร่วมกันเขียนนวนิยายสะท้อนชีวิตความเป็นอยู่ของคนไททยในกรุงเทพมหานคร คือ เรื่องเยาวราชในพายุฝน หลังจากนั้นวรรณคดีจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง ศตวรรษที่ 20 วรรณคดีจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยเริ่มมีการขยายขอบเขตกว้างใหญ่มากจนร่วมกับกลุ่มนักประพันธ์ของชาวจีนโพ้นทะเล วรรณคดีจีนโพ้นทะเลยในประเทศไทยได้พัฒนาไปในแนวทางใหม่ๆ แต่เนื่องจากรากฐานผลงานกับพื้นฐานการดำเนินชีวิตในประเทศไทยแล้วผสมผสานกับวัฒนธรรมของท้องถิ่น จึงมีรูปแบบโดดเด่นขึ้นมา ในวิทยานิพนธ์เล่มนี้ เล่าถึงกระบวนการพัฒนาททางด้านวรรณคดีจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยรวมถึงวิจัยสังคมในตอนนั้น วรรณคดีจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยส่วนใหญ่จะบอกถึงความคิดและผลลัพธ์ของตัวละคร การศึกษานวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทย และผลจากการศึกษาโดยสังเขป เช่น มีการแพร่หลายจำนวนยังไม่มากนัก อาจจะเนื่องจากกลุ่มจีนโพ้นทะเลในไทยยังมีจำนวนน้อยอยู่ และมีผู้ที่มีความสามารถภาษาจีนยังไม่เพียงพอ วรรณกรรมจีนโพ้นทะเลที่ปรากฏในประเทศไทยส่วนใหญ่จึงเป็นวรรณกรรมขนาดสั้นหรือกลอนสั้นมากกว่าที่จะเป็นวรรณคดีเรื่องยาว th
dc.description.abstract Southeast Asian Literature in Chinese in Thailand have a local rather than dominant in many other countries. Chinese Literature in Thailand is not consistent with Chinese culture, but is consistent with Thai culture is its own unique style which is latent in the cultural arts. In Southeast Asia the Chinese in Thailand have many Overseas Chinese in Thailand with Thai soceity adapte perfectly. Thailand is a country where the culture of China in a long time. Sukhothai culture into Thailand and China have a focus. And a combination that has created a new literary style is literary Chinese in Thailand. Chinese Literature in Thailand has developed any evolution. Chinese Literature in Thailand is one of the Chinese literature. Chinese Literature in Thailand three times in the popular literature are the Chinese in Thailand has been very successful. Especially the creation of works of fiction and poetry. Literature and the Chinese in Thailand are works that are increasingly popular. Calm down after the war. The works of Chinese literature, poetry in Thailand out like that, New Home "Men betel nut chewing, Chen Ding, Young Sampeng" as the work of Chen charcoal. "Home in the mountains" as 1956 and that escape Chang Yong Ho Sern Yi Wen and written seven novels together 接龙小说 《破毕舍歪传》 Chew Ling complied on "曼谷公园" published. 1964 with nine other authors write novels that reflect the shared living of Thai people in Bangkok Chinatown is about the storm. After the Chinese Literaturs changes. And the continued development of 20th century Chinese literature in Thailand have started to expand more spacious and with a group of Chinese composer. Chinese Literature in Thailand to develop in new ways. But because the foundation works with the basics of life in Thailand, combined with the local culture. It has a unique up. In this thesis, this book talks about the development process in literary Chinese in Thailand, including social research at the time. Chinese Literature in Thailand, most will tell the thoughts and Pages. Literature Study Chinese in Thailand may be due to the small number of common Chinese people in Thailand and there are a few people with the ability of Chinese literature is not enough Chinese in Thailand, most of it is. Literary short poem or short rather than long literature. th
dc.description.abstract 东南亚华文文学中,泰国华文文学较之于其它华文文学,本土性又相对较强。泰华文学既不同于中国文化,又区别于泰国文化,是具有自己鲜明特点的,有着独特文化内涵和文化取向的文学艺术。在东南亚各国中,泰国的华侨人数最多,泰国华人与泰国社会的融合过程也是最高的。泰国是接受中华文化较早的国家,在泰国的第一代王朝,就有中华文化进入泰国。中国传统文化与泰国文化进行了很好的融合,并且在交融的基础上进行了变革,由此而创造了新的文化形式—— 泰国华文文学。泰国的华文文学就是在这样的历史文化背景下,逐渐发展起来的。 泰华文学是中华文学的一个支流,在二十世纪二十年代末到三十年代初,泰华文学产生了三次潮流,这都使泰华文学取得了很大的成就,特别是在小说创作方面,也使泰华文学始终沿着现实主义的创作道路前进的。 抗战胜利后,有许多的华文作品横空出世,例如,姚万达的《一个嚼槟榔的绅士》、陈仃的《三聘姑娘》、等。谭真的《座山城之家》等等。1956 年,倪长游、沈逸文等 7 人合作写成第一部长篇接龙小说《破毕舍歪传》,在丘陵主编的《曼谷公园》上发表。1964 年,亦非等 9 人联手写了一篇反映曼谷下层华族人民困苦生活的接龙小说——《风雨耀华力》。 此后,泰华文学自身不断地在改变、发展,也在不断地成熟。二十世纪八九十年代以后,泰华文学开始大规模地走出湄南河,融入世界华文文学大家族中,经过不断地磨合,泰华文学开始立足本地,获得了新的发展生机。这个时期的泰华文学本质上还是中国文学在泰国的延伸与发展,但由于作品植根于泰国的生活土壤,揉进了异域的文化基因,其风格特色已与启蒙时期的泰华文学略有差异。在此篇的论文主要诉述的是,在泰国,泰华文学的发展历程以及研究在那样的社会里,泰华文学所要表达的思想及成就。 泰华长篇小说的研究中,作为一个简单的这样一个普遍的研究结果却并不多,集团可能是由于在泰国华人很少,与中文的能力是不够的。文学,在泰国似乎多数是一种短文学或躺在文学,而不是长篇小说。
dc.language.iso zh th
dc.publisher Huachiew Chalermprakiet University th
dc.subject วรรณกรรมจีน -- ไทย -- ประวัติและวิจารณ์
dc.subject Chinese literature -- Thailand -- History and criticism
dc.subject การวิเคราะห์เนื้อหา
dc.subject Content analysis (Communication)
dc.subject การศึกษาข้ามวัฒนธรรม
dc.subject Cross-cultural studies
dc.subject นวนิยายจีน
dc.subject Chinese fiction
dc.subject 中国文学 -- 泰国 -- 历史与批评
dc.subject 内容分析
dc.subject 中国小说
dc.subject 跨文化教育
dc.title 论泰国华文长篇小说 th
dc.title.alternative การวิเคราะห์นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทย th
dc.title.alternative An Analysis of Chinese Novels from Thailand th
dc.type Thesis th
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต th
dc.degree.level ปริญญาโท th
dc.degree.discipline วรรณคดีจีนสมัยใหม่และร่วมสมัย th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account