在泰华文学中,微型小说已渐渐成为创作的主流。由于时代改变,科技发达,人们的标准倾向求速求精,微型小说就是通过一个极短的生活情节,或是一个生活截面,甚至有时仅仅是生活中的一刹那透视出的生活本质。其最大的特点是:篇幅小、语言精、结构巧,寓意深。这种文学体裁的社会信息量远不及长、中、短篇小说,但其社会作用与艺术功能,尤其是“以微见著,以近知远,不拘一格,尺水兴波”的艺术特色,就绝不是那些卷轶浩繁的宏篇巨著所能替代的了。 在当代泰华文坛,微型小说创作已经取得了令人瞩目的成绩。它虽起步较晚,但自20世纪90年代以来,紧追世界华文微型小说的步伐,涌现出了一批优秀作家和作品,创建出了独具特色的艺术天地。本文试图通过对泰华微型小说的研究,总结概括泰华微型小说的艺术特色,探讨泰华微型小说的社会功用及其在泰华文学中的地位。 全文共为绪论、正文、结论三个部分。正文部分分为三章。第一章,从中国古代文学、中国传统思想对泰华小说的影响,探究泰华微型小说的艺术之源;第二章,从传承性、现实性、包容性三个方面论述泰华微型小说所独具的艺术特色;第三章,探讨泰华微型小说的社会功用及在泰华文学中的地位。
งานเขียนในรูปแบบเรื่องสั้นขนาดสั้นกลายเป็นกระแสหลักในวงวรรณกรรมจีนในประเทศไทย เนื่องจากยุคสมัยเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีเจริญก้าวหน้า ผู้คนหันมานิยมความรวดเร็วและความกระชับ เรื่องสั้นขนาดสั้นสะท้อนชีวิตจริงของผู้คนผ่านโครงเรื่องสั้นๆ หรือฉากตอนเดียวของชีวิต หรือบางครั้งเป็นเพียงชั่วขณะเดียวของชีวิต จุดเด่นคือ มีขนาดกระทัดรัด ใช้ภาษาที่คัดสรรอย่างดี การจัดวางโครงเรื่องกระชับ และสื่อความหมายได้ลึกซึ้ง แม้ว่ารูปแบบการประพันธ์ชนิดนี้จะไม่สามารถให้ข้อมูลทางสังคมได้เทียบเท่ากับนวนิยาย นวนิยายขนาดสั้น หรือเรื่องสั้น แต่ก็มีประโยชน์ต่อสังคมและเป็นการแสดงออกถึงศิลปะซึ่ง “จุดเล็กสะท้อนเรื่องใหญ่ รู้ไกลได้จากใกล้ ไม่จำกัดรูปแบบตายตัว อิสระเสรี” เป็นข้อดีซึ่งวรรณกรรมขนาดยาวก็ไม่อาจทดแทนได้ในวงวรรณกรรมภาษาจีนในประเทศไทยในยุคปัจจุบัน เรื่องสั้นขนาดสั้นมีความความสำเร็จอย่างมาก ถึงแม้จะก่อกำเนิดขึ้นไม่นาน แต่นับจากราวทศวรรษที่ 9 แห่งศตวรรษที่ 20 ก็เจริญรอยตามเรื่องสั้นขนาดสั้นที่เขียนด้วยภาษาจีนในวงวรรณกรรมโลก โดยในประเทศไทยเกิดมีผู้เขียนและชิ้นงาน วรรณกรรมที่ยอดเยี่ยมเกิดขึ้นจำนวนหนึ่ง สร้างเป็นพื้นที่แห่งศิลปะที่มีเอกลักษณ์ของตน วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ทำการศึกษาเรื่องสั้นขนาดสั้นที่เขียนด้วยภาษาจีนในประเทศไทย สรุปลักษณะเด่นทางศิลปะของเรื่องสั้นขนาดสั้นที่เขียนด้วยภาษาจีนในประเทศไทย วิเคราะห์ประโยชน์ทางสังคมของาเรื่องสั้นขนาดสั้นที่เขียนด้วยภาษาจีนในประเทศไทยตลอดจนสถานะในวงวรรณกรรมภาษาจีนในประเทศไทยวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มี 3 ส่วนได้แก่ บทนำ เนื้อหา และบทสรุป ส่วนเนื้อหาแบ่งเป็น 3 บท บทที่หนึ่ง วิเคราะห์ที่มาของศิลปะการประพันธ์เรื่องสั้นขนาดสั้นที่เขียนด้วยภาษาจีนในประเทศไทย โดยศึกษาอิทธิพลของวรรณคดีจีนโบราณ และความคิดที่ถ่ายทอดกันมาของจีนที่มีต่อเรื่องสั้นขนาดสั้นที่เขียนด้วยภาษาจีนในประเทศไทย บทที่สอง กล่าวถึงเอกลักษณ์ทางศิลปะของเรื่องสั้นขนาดสั้นที่เขียนด้วยภาษาจีนในประเทศไทย โดยวิเคราะห์จากการสืบทอดลักษณะการเขียน ความเป็นจริง และการผสมผสาน บทที่สาม กล่าวถึง ประโยชน์ของเรื่องสั้นขนาดสั้นที่เขียนด้วยภาษาจีนในประเทศไทยที่มีต่อสังคม ตลอดจนสถานภาพของเรื่องสั้นขนาดสั้น ในวงวรรณกรรมภาษาจีนในประเทศไทย
Chinese micro-fiction gradually has become an important aspect of Chinese literature in Thailand. It is also a major trend around the world. A major feature of micro-fiction is a concise, profound, short story of a small fraction of life defined with artistic communication. Although this kind of novel have social impacts no more than those from longer fictions, distinctive writing style and brief meaningful story is of incomparable quality. Although newly established in the 1990’s, Chinese micro-fiction in Thailand remarkably paralleled this literatures global growth. The emergence of a large number of excellent writers has created a unique art in its own literary world. There are three parts in this thesis including introduction, content, and summary. The content section is divided into three chapters. The impact of Chinese philosophy and ancient fiction on Chinese literature in Thailand are discussed in chapter 1. The outstanding feature of Thailand’s Chinese micro-fiction written in traditional, realism, and assorted narratives are presented in chapter 2. A comparison of several Chinese micro-fiction stories discussing social significance are in chapter 3.