DSpace Repository

跨文化交际视野下的汉泰空间属性义场代表词义项分布对比及教学策略研究

Show simple item record

dc.contributor.advisor 李仕春
dc.contributor.advisor Li, Shichun
dc.contributor.author 张妙真
dc.contributor.author ญดาพัสส์ ขีดล่อง
dc.date.accessioned 2022-09-24T13:29:24Z
dc.date.available 2022-09-24T13:29:24Z
dc.date.issued 2014
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/724
dc.description Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2014 th
dc.description.abstract การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อการเปรียบเทียบความแตกต่างด้านวัฒนธรรมการใช้คำศัพท์และวิธีการสอนเกี่ยวกับช่องว่างระหว่างคำจีน-ไทย โดยใช้วิธีการทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเข้าด้วยกัน โดยเลือกเกี่ยวกับช่องว่างระหว่างคำจีน-ไทย โดยมีสี่คำดังนี้ "ไกล" "ใหญ่" "เล็ก" "สูง" การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีข้อมูลจากข้อมูลจาก CCL โดยคำว่า "ไกล" "ใหญ่" "เล็ก" "สูง" สี่คำนี้ทีมีความหมายในปัจจุบันและถูกนำมาจัดเรียงใหม่ โดยเปรียบเทียบพจนานุกรมภาษาจีนสมัยใหม่เล่มที่ 5 กับพจนานุกรมภาษาไทยในการอธิบายคำศัพท์ การวิจัยนี้แบ่งเป็นสี่ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่หนึ่งบทนำกล่าวถึงที่มาของหัวข้อ วิธีการวิจัย จุดมุ่งหมาย ความหมายของการวิจัย และรายละเอียดของเนื้อหา ส่วนที่สองแบ่งเป็นบทที่หนึ่งถึงบทที่สี่ ใช้ข้อมูลจาก CCL ได้วิเคราะห์ฐานข้อมูลของคำว่า "ไกล" "ใหญ่" "เล็ก" "สูง" ช่องว่างระหว่างคำจีน-ไทยของสี่คำ ดำเนินการวิจัยอย่างละเอียด รวมทั้งรวมเป็นรูปแบบเดียวกันที่มีความหมายของช่องว่างระหว่างคำจีน-ไทย ด้านการแปลความหมายและคำที่มาจากมุมมองของผู้เขียน ส่วนที่สามคือวิธีการสอนโดยใช้ "ไกล" "ใหญ่" "เล็ก" "สูง" ช่องว่างระหว่างคำจากพจนานุกรมไทย-จีน ให้ความหมายวิธีการสอนที่เป็นรูปธรรม จุดประสงค์คือให้ครูสอนภาษาจีนมีกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ บทที่สี่ คือ ส่วนท้ายของวิทยานิพนธ์ ในบทความนี้ ยังมีเนื้อหาที่ไม่เพียงพอของบทความโดยการใช้ข้อมูลจาก CCL รวมทั้งวิธีการวิเคราะห์เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ทำให้ช่องว่างระหว่างคำสี่คำ "ไกล" "ใหญ่" "เล็ก" "สูง" ดำเนินการวิจัยอย่างเป็นรูปธรรม และเสนอมุมมองของผู้เขียน หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ค้นคว้าวิจัยต่อไป th
dc.description.abstract This study aimed to study on the distribution and meaning items at Chinese and Thai of space property semantic field representative words and teaching strategies, using a combination of qualitative and quantitative methods, select the Chinese and Thai space property semantic field representatives of the word "Yuan", "Da", "Xiao", "Gao" as the object of study. With the help of technical assistance under the corpus, made a detailed study on the distribution and meaning items for the "Yuan", "Da", "Xiao", "Gao". comparative the "Modern Chinese Distionary" (Section Senses 5th Edition) (herein referred to as "Modern Chinese") and "Thai Dictionary" in the words of the description of these four representatives and indexed complex words. The article is divided into four parts. The first part is an introduction, bases on the topic, the research methods, research and other aspects of the purpose and significance of the contents of a specific description. The second part of the article is divided into the first chapter to chapter IV. With Corpus technology, bases on the analysis of a large corpus, with Corpus technology, based on the analysis of a large corpus, Made a meticulous research on the meanings and distribution of "Yuan", "Da", "Xiao", "Gao". Combined with the results of the same field with the mode in linguistics, particular at lexicography, put forward some point of views on the "Yuan", "Da", "Xiao", "Gao" aspects of interpretation and meanings at the "Modern Chinese Dictionary" and "Thai Dictionary". The purpose is to help Chinese teachers in the teaching process to effectively teach students to master these kind of words. The fourth part is the article of the end of the paper, the ful text of writing ideas, shortcomings and deficiencies conducted and summarized, and pointed out the inadequacies of the article. In this study, the author use of corpus technology, combined with qualitative research and quantitative analysis method, made a study on modern Chinese the space property semantic field representative words "Yuan", "Da", "Xiao", "Gao" and made some of opinions, hoping to contribute to a force for future research related aspects. th
dc.description.abstract 本研究旨在研究跨文化交际视野下的汉泰空间属性义场代表词义项分布对比及其教学策略,采用定性定量相结合的方法,选取汉泰空间属性义场中的四个代表字“远”、“大”、“小”、“高”作为研究的对象,借助语料库技术的支持,对“远”、“大”、“小”、“高”这四个字在现代汉语中的义项分布情况进行了重新梳理,对比研究《现代汉语词典》 (第5版)(本文简《现汉》)和《泰语词典》中这四个代表词的义项描写及复字词的收录情况。 文章共分为四个部分。第一部分为绪论,就本研究的选题依据、研究法、研究目的和意义等方面内容予以了详细的阐述。 文章的第二部分为第一章至第四章。借助语料库技术,在分析大量语料的基础上,对“远”、“大”、“小”、“高”这四个空间属性义场中的代表字进行了细致的研究,结合同场同模式等语言学特别是词典学的研究成果,对《现汉》和《泰语词典》中空间属性义场代表字的义项释义和收词等方面提出了自己的意见。文章的第三部分为教学策略,针对“远”、“大”、“小”、“高”四个空间属性义场代表词在《现汉》和《泰语词典》中的义项释义提出具体的教学策略,目的是帮助汉语教师在教学过程中能够有效地教会学生掌握这类生词。 论文的第四部分为论文的结尾,对全文的写作思路,缺点和不足进行了归纳和总结,并指出了文章的不足之处。本研究利用语料库技术,结合定性研究与定量分析相结合的方法,对现代汉语空间属性义场“远”、“大”“小”、“高”四个代表字,进行了具体的研究,并提出了一点自己的意见,希望能够为以后相关方面的研究贡献自己的一份力量。
dc.language.iso zh th
dc.publisher Huachiew Chalermprakiet University th
dc.subject ภาษาจีน -- คำศัพท์ th
dc.subject Chinese language -- Vocabulary th
dc.subject 汉语 -- 词汇 th
dc.subject ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน th
dc.subject Chinese language -- Study and teaching th
dc.subject 汉语 -- 学习和教学 th
dc.title 跨文化交际视野下的汉泰空间属性义场代表词义项分布对比及教学策略研究 th
dc.title.alternative การเปรียบเทียบความแตกต่างด้านวัฒนธรรมการใช้คำศัพท์และวิธีการสอนเกี่ยวกับช่องว่างระหว่างคำจีน-ไทย th
dc.title.alternative Comparison of the Cross Cultural Differences between the Chinese Language and the Thai Language in the Usage of Words and in the Teaching Methodology Concerning in Space Property Semantic Field th
dc.type Thesis th
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต th
dc.degree.level ปริญญาโท th
dc.degree.discipline การสอนภาษาจีน th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account