ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีชาวจีนโพ้นทะเลอพยพมาอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก และมีมาแต่ช้านานแล้ว ซึ่งชาวจีนโพ้นทะเลรุ่นแรก ๆ ได้แหวกคลื่นข้ามทะเลมายังประเทศแห่งพระพุทธศาสนานี้ เพื่ออยู่อาศัยและตั้งถิ่นฐาน โดยชาวจีนโพ้นทะเลต่างมีภูมิหลังที่แตกต่างกันไปยากที่จะนำมาศึกษาละเอียดทีละบุคคล แต่ละบุคคลล้วนมีสุขทุกข์โศกศัลย์ พบพรากจากลา เป็นการยากในการทำความเข้าใจให้ได้อย่างลึกซึ้ง เป็นที่ยอมรับว่าวรรณคดีชาวจีนโพ้นทะเลเป็นส่วนหนึ่งของวรรณคดีจีนอย่างไม่ต้องสงสัย เพราะเป็นวรรณคดีที่ใช้ภาษาจีน มีตัวละครจีน ศิลปวัฒนธรรมจีน และเรื่องราวของชาวจีนโพ้นทะเลอยู่ในเนื้อเรื่อง โดย "เรื่องของคุณหลวง" และ "หมอเลี่ยน" เป็นวรรณคดีที่บ่งบอกถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้นในยุครุ่นแรกและรุ่นที่สองของชาวจีนโพ้นทะเล "เรื่องของคุณหลวง" เป็นนวนิยายที่ผู้ประพันธ์ได้รวบรวมข้อมูลของนักธุรกิจผู้ก่อร่างสร้างตัวจากความไม่มีสู่การประสบความสำเร็จเป็นที่ยอมรับในประเทศไทยไว้อย่างมากมายมาเป็นลักษณะหลักในการดำเนินเรื่องส่วน "ม๋อเลี่ยน" เป็นนักธุรกิจรุ่นใหม่ของไทยที่นำเสนอรูปแบบการประสบความสำเร็จทางธุรกิจกของตนเองออกมาในรูปแบบอัตชีวประวัติ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาชีวิตการบุกเบิกของนักธุรกิจกและเส้นทางสู่ความสำเร็จในยุคสมัยต่างๆ กันโดยผ่านการเปรียบเทียบจากนิยายสองเรื่องเปรียบเทียบลักษณะตัวละคร ศิลปกรรม ความรู้สึกเชิงสัจนิยม และนัยแฝงทางวัฒนธรรมของสังคม คุณหลวง และ อู๋ถิงกวง ล้วนเป็นตัวละครหลักในนิยาย "เรื่องของคุณหลวง" และ "หมอเลี่ยน" ซึ่งมีลักษณะที่เหมือนกัน คือ ประสบการณ์ชีวิตที่ซับซ้อน ผ่านร้อนผ่านหนาว การมีความซื่อสัตย์ ทำงานหนัก และรักความก้าวหน้า ยืนหยัดอย่างมั่นคง กล้าที่จะต่อสู้และมีความสุขกับการให้คืนแก่สังคม และก็มีความแตกต่างกันในหลายเรื่อง เป็นรุ่นแรก และรุ่นที่สองที่เข้ามาในประเทศไทยทำให้พื้นฐานการทำธุรกิจแตกต่างกัน ลักษณะนิสัยที่แตกต่าง ความรู้จักในประเทศไทย และการปฏิบัติต่อคนและสิ่งของในประเทศไทย รวมถึงการปฏิบัติกับคนในครอบครัวที่แตกต่างกัน ลักษณะนิสัยตัวละครของสองเรื่องมีความคล้ายคลึงกัน เนื่องจากความเกี่ยวพันธ์กันถิ่นกำเนิด คือ แต้จิ๋วเหมือนกัน อีกทั้งมีประสบการณ์ที่ต้องการพบกับความยากลำบากคล้ายกัน นอกจากนี้ ความขยันหมั่นเพียรในภายหลัง และพื้นฐานด้านสังคมและยุคสมัยก็ยังเป็นสิ่งที่ผลักดันต่อชะตาชีวิตของคนทั้งสองไม่เหมือนกัน คือ ความแตกต่างด้านประสบการณ์ชีวิตและความแตกต่างของวัฒนธรรมสังคมในยุคสมัยนั้นๆ
Thailand has a lot of overseas Chinese for a long history. The older generation crossed the big ocean and cloaked waves to come to the Buddhist Kingdom to make a living, settle down. The man who was compelled to leave his native place all his life experiences of his own that we cannot investiagte one by one; The man who taken up temporary residence in a foreign country must has his pleasure, anger, sorrow, joy and grief at separation and joy in union that we cannot know it entirely. It os an undoubted fact that the literature of overseas Chinese is a part of the literature of Chinese. Because it is all about Chinese language, Chinese character and the overseas Chinese's story. <A story of Kunluan> and <Molian> tell the story of the first generation and the second generation many business executives who started empty-handed and set up a succeed career in Thailand from all what he sees and hears in Thailand to meditate on the plot of the story and makeup the figure's image. <Molian> is the famous entreperneur of modern Thailand who represented his pioneering life by the autobiographical type. This article seeks the entrepreneur's pioneering life and the wat of how to manitain the achievements of one's predecessors in different times through the comparison with the two stories. And then compare the image and artistry and research the reality sense and the connotation of social culture. Kunluan (Tong Zheng) and Tingguang Wu is the leadning character in novel <A story of Kunluan> and <Molian> respectively. They have the same features: complicated life experience, through thick and thin, honesty, hard-work, keep forging ahead, hold on consistently and persistently, dare to make desperate, take delight in repaying society. Also they have many differences: the first generation and the second generation of the overseas Chinese foundation of coming to Thailand and to start their career, the gap of nature and recognize of Thailand and the way to get with people and to treat with family. The nature of them must has a connection with the district of Chaosham, moreover it must relate to the pain growing experiences. On the other hand, the forturne must dependent on the effort and the times. But the differences of images due to the experiences of two people and the gap of time environment.
泰国华侨众多, 历史渊源悠久。无数先贤远渡重洋、披风破浪来佛国谋生、定居。离乡背井者都有着各自的身世故事, 无法一一探究; 客居异国者也定会有各自的喜怒哀乐、悲欢离合, 无法尽得其解。
华侨文学从属于汉文学, 这是一个不争的事实,因为这都是关于汉语、汉字、华人的故事。《一个坤蜜的故事》与《磨练》分别是介绍第一代华人和第二代华裔在泰国的故事。《一个坤銮的故事》是通过作者在泰国的所见所闻, 整合众多在泰国白手起家、创业成功的华人企业家形象综合构建的故事情节和塑造的人物形象:《磨练》是现代泰国著名企业家巫廷光以自传体的形式记叙自己的风雨创业路。
本文通过两篇小说人物的形象比较, 探求不同时期成功企业家的创业之路和守成之道, 进而比较两篇小说的人物形象及其艺术特点, 研究小说的现实意义和社会文化内涵。
《一个坤蜜的故事》和《磨练》的主人公分别是坤銮(即通)和巫庭光 (即巫廷光) , 两者都有着共同点: 身世复杂、历经苦难, 忠厚、勤奋、进取、坚持不懈、敢于拼搏和乐于回报社会等。两者也有着相异之处: 第一代华人和第二代华裔在入泰的条件和创业基础方面不同, 性格的差异, 对泰国的认识以及待人接物和对待家庭上也有明显的不同。
他们的性格相似, 与出生于潮汕地域有着必然联系, 同时也和苦难深重的成长经历有关, 再者, 个人的后天努力与时代和社会的大背景必然是每个人命运的幕后推手。他们人生的不同之处, 则归因于个人具体的生活经历和两个时代的社会文化环境的差异。