ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC หรือ Asean Economic Community) มีความต้องการในการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในปี 2015 และต้องการบรรลุเป้าหมายทั้งหมดในปี 2020 โดยมีแนวโน้มที่ส่งผลอันดีต่อประเทศไทย การรวมตัวของกลุ่มเศรษฐกิจประชาคมอาเซียนถือเป็นแรงผลักดันและแรงขับเคลื่อนที่ดีต่อการพัฒนาประเทศ ประเทศจีนกับเขตการค้าเสรีอาเซียนตั้งแต่เศรษฐกิจประเทศจีนมีความแข็.แรงขึ้นทำให้เศรษฐกิจจีนมีผลต่อประชาคมอาเซียนมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริษท องค์กร หน่วยงาน สถาบันต่างๆ ของจีน ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนและติดต่อสื่อสารกันมากขึ้น ด้วยประชากรชาวจีนที่มีมากกว่า 1.3 พันล้านคน ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดในเขตอาเซียนหรือลุ่มแม่น้ำโขงก็จะพบเห็นชาวจีนอาศัยอยู่ในหลายพื้นที่ เนื่องด้วยเศรษฐกิจประเทศไทยขึ้นอยู่กับเศรษฐกิจประเทศจีน เห็นได้จากประเทศจีนเป็นตลาดส่งออกที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย และเป็นตลาดนำเข้าอันดับสองของไทย ปัจจุบันประเทศไทยและประเทศจีนมีความสัมพันธ์อันแนบแน่นทั้งการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว การศึกษา และวัฒนธรรม ดังนั้น ทำให้มีความค้องการบุคลากรด้านภาษาจีนเพิ่มขึ้น กรณีศึกษาบริษัท ฟู่เซีย จำกัด แสดงให้เห็นถึงความต้องการบุคลากรที่มีความสามารถด้านภาษาจีนธุรกิจ ไม่เพียงแต่วิเคราะห์ถึงกระบวนการของธุรกิจ และยังวิเคราะห์ถึงผลกำไรที่สามารถเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว การเติบโตของบริษัทกับธุรกิจประเทศจีนในตอนนี้ ได้แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของความต้องการบุคลากรที่มีความสามารถด้านภาษาจีนธุรกิจไม่เพียงแต่บริษัท ฟู่เซีย จำกัด เท่านั้น บริษัทต่างๆ ในประเทศที่ทำธุรกิจกับประเทศจีนก็ยังมีความต้องการใช้ภาษาจีนในการติดต่อสื่อสารทางธุรกิจอยู่ไม่น้อย ส่วนหนึ่งประเทศจีนกับประชาคมอาเซียนนับวันยิ่งแน่นแฟ้น มากขึ้น อีกส่วนหนึ่งการรวมตัวของประชาคมอาเซียนที่ใกล้จะเข้ามาถึงทำให้ความต้องการบุคลากรไทยในด้านภาษาจีนยิ่งเพิ่มสูงขึ้นด้วย
Assoication of Southeast Asian Nations (ASEAN) will achieve economic integration in 2015, and ASEAN Community in 2020. This trens has been approved by almost Thai people and believed to be a good trend. Era of economic integration also brings opportunities and challenges. Due to the strong Chinese economy, China will be becoming the dominant force in economic development after achieving economic integration in ASEAN in the framework of China-ASEAN Free Trade Area. It will be a necessity for almost company in ASEAN. that to contacting, communicating, exchanging and trading with any company, organization and agency etc. of China or Chinese regions. With the strong growth of Chinese economy, People's Republic of China which has more than 1.3 billion population will take absolute dominancce in regional economic of CAFTA (China-ASEAN Free Trade Area) & GMS (Greater Mekong Subregion Economic). Now, Thailand's economy depends on China's economy more and more, China is Thailand's largest export market and China is Thailand's second largest source of imports too. All have close contacts every day between China and Thailand in many industries, include trade, investment, tourism, education and culture etc. So, how to use and train the staff who understand business Chinese language better is a very important thing for Thailand's company that is developing. Author take Thailand Fu Xie Company as an example to prove the development of Thai company need the staff who understand business Chinese language, through explaining to Fu Xie Company how to use and train the staff who understand business Chinese language, and expanding economic and trade business with China. And after believe that not only in Fu Xie Company, every company that has business with China will also need the staff who understand business Chinese language, and ASEAN economic integration make this demand of language ability to be more important.
东南亚国家联盟(简称东盟)将于 2015 年实现经济一体化,于 2020 年实现东盟共同体,这种趋势被绝大部分的泰国人认可,并认为是良性的趋势,经济的一体化也是时代带来的机遇和挑战。在中国—东盟自由贸易区的框架下,由于中国经济的强劲,使得中国将在东盟实现经济一体化后成为经济发展的主导力量。对于大多数东南亚国家的企业而言,和中国或者大华地区的企业、组织、机构等产生商业上联系、往来、沟通、交流成为一种必然。
随着中国经济的强劲增长,拥有 13亿多人口的中华人民共和国在中国—东盟自由贸易区和大湄公河次区域经济的区域经济中占有绝对主导地位。如今,泰国经济依赖中国经济,目前中国是泰国第一大出口市场,中国也是泰国的第二大进口来源国。泰国和中国之间每天都有着密切的往来,充斥在各行各业,包括贸易、投资、旅游、教育和文化等。因此,如何使用和培养好商业汉语人才,对于发展中的泰国企业来讲,至关总要。
本论文以泰国福协公司为例子,分析说明该公司注重使用和培养了汉语人才,不断扩大与中国的经贸业务,使公司在利润上快速增长。该公司的发展证明了企业在与中国进行商务往来时,汉语人才的需求和商业汉语的使用是非常重要的。在泰国不仅是泰国福协公司,对于所有想要与中国做生意的泰国企业而言,运用商业汉语与中国发展业务联系都是必不可少的。一方面中国与东盟经贸来往越来越紧密,另一方面东盟经济一体化的到来,都更加促进了泰国对汉语人才的需求。