DSpace Repository

对泰国初中阶段汉语教材的研究——以《体验汉语》和《创智汉语》的初中版学生用书为例

Show simple item record

dc.contributor.advisor 肖瑜
dc.contributor.advisor Xiao, Yu
dc.contributor.author 陈金明
dc.contributor.author จารุวรรณ เดชฤทธิ์ตันติกร
dc.contributor.author Chen, Jinming
dc.date.accessioned 2022-10-30T04:49:37Z
dc.date.available 2022-10-30T04:49:37Z
dc.date.issued 2016
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/841
dc.description Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2016 th
dc.description.abstract หลังจากได้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐบาลไทยเกี่ยวกับการศึกษาภาษาต่างประเทศภาษาจีนจึงเป็นอีกหนึ่งภาษาที่ทุกฝ่ายให้ความสนใจมากขึ้น หลายปีมานี้ การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยได้รับการพัมฒนาไปอย่างรวดเร็ว แต่ในขณะเดียวกันการเลือกใช้แบบเรียนภาษาจีนก็ยังไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน วิธีการเลือกหนังสือภาษาจีนที่เหมาะสมจึงกลายเป็นปัญหาใหญ่อีกปัญหาหนึ่งของการเรียนการสอนภาษาจีนในปัจจบุัน งานวิจัยนี้มีเป้าหมายเพื่อการเปรียบเทียบตำราเรียนภาษาจีนที่ใช้ในการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขั้นตอนการวิจัยจะเป็นไปตามมาตรฐานที่ 3 อย่างที่มีลักษณะความแตกต่างของแต่ละประเทศ ช่วงระหว่างอายุ และความเกี่ยวข้องอุตสาหกรรมการเรียนการสอน แบบเรียนที่ใช้สำหรับการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบเรียน "สัมผัสภาษาจีน" และแบบเรียน "ภาษาจีนสร้างสรรค์" ของระดับมัธยมศึกษาตอนต้นแบบเรียนทั้งสองชุดนี้เป็นการร่วมมือของสำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ (รู้จักกันในนาม "ฮั่นปั้น") และคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานของไทย เป็นตำราที่ใช้กันอย่างแพร่หลายและได้ถูกนำมาเขียนวิจัยแล้วหลายครั้ง งานวิจัยนี้ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลัก คือ โครงสร้างแบบเรียนโครงสร้างการออกเสียง (PINYIN) คำศัพท์ ไวยากรณ์และบทเรียน นอกจากนี้ยังอ้างอิงตามหลักการสำคัญจาก 4 ประการ สำหรับการออกแบบแบบเรียนภาษาจีนโดย Zhao Xianzhou และ Li Weimin (1990) เพื่อที่จะทำให้แบบเรียนภาษาจีนได้พัฒนาไปตามความเหมาะสมและสามารถสนองความต้องการของผู้เรียนภาษาจีนได้ นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นปัญหาของแบบเรียนภาษาจีนในปัจจุบันและให้ข้อเสนอแนะพร้อมแนะนำวิธีแก้ไข ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่างานวิจัยเล่มนี้จะมีส่วนช่วยให้ผู้เรียนได้้แบบเรียนภาษาจีนที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและสามารถช่วยในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาษาจีนให้ดียิ่งขึ้นต่อไป th
dc.description.abstract With the change of Thai government's policy on the foreign language education. Chinese language is becoming increasingly popular. In recent years, the development in Chinese Teaching in Thailand has grown by leaps and bounds. But Chinese textbooks or using in Thai basic education are not unify, how to choose an appropriate Chinese Textbook to be used in Chinese Teaching is a very challenging task. This research is aiming at comparing Chinese textbooks for using in basic education. In the research stage, the selected subjects will follow the 3 standards which are nationality of textbooks, age categories and the relevance of textbooks and industry authorized institution. The selected subjects for this research are "Experiencing Chinese" a junior high Chinese textbook and "Chuangzhi Chinese" also a junior high Chinese textbook. These two selected textbooks/materials are the collaboration of the Office of Chinese Language Council International (know colloquially as "Hanbun") and Thai basic education committee; both of textbooks are purposely written for Thai Junior high students. These two selected textbooks have a very efficient representativeness for this particularly research. This research is following the main 5 elements which are textbooks structure pronunciation (phonetic), vocabularies, grammars, texts and also following 4 important principles out of 10 principles for design Chinese Textbook by Zhao Xianzhou, Li Weimin (1990) for evaluates which textbooks are suitable to be fulfilled Chinese Teaching requirement, also points out the problems in designing Thai's Chinese textbooks and gives a suggestion to these problems. th
dc.description.abstract 随着泰国政府对外语教育政策的改变,汉语越来越受到各方的重视。近年来,汉语教学在泰国的发展极其迅速,特别是在基础教育的初级阶段,已将汉语编入了教学课程中。而泰国基础教育阶段所使用的汉语教材并不统一,如何选择一本合适的汉语教材成为汉语教学的一个难题。 本文将对比研究的对象定位在初级阶段的汉语教材。而入选研究对象的标准则遵循是否满足以下三个特征,即国别型、同龄化和教材与行业权威机构的关联性。最终选定的研究教材分别为《体验汉语》初中阶段的学生用书和《创智汉语》初中阶段的学生用书。这两套教材都与中国国家汉办和泰国基础教育委员会有关,都是针对初中阶段的泰国学生编写的。选择它们做为比较对象,具有一定的代表性。 本文以教材结构、语音( 拼音) 、词汇、语法、课文这五个单元做为主线,依据赵贤州、李卫民(1990)归纳的(对外)汉语教材设计的十点原则进行对比分析,重点从教材的四性原则展开来确定教材编写是否满足教学要求,并对泰国汉语教材的设计问题提出一些建议。
dc.language.iso zh th
dc.publisher Huachiew Chalermprakiet University th
dc.subject ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน th
dc.subject Chinese language -- Study and teaching. th
dc.subject 汉语 -- 学习和教学 th
dc.subject ภาษาจีน -- ตำราสำหรับชนต่างชาติ th
dc.subject 汉语 -- 对外教科书 th
dc.title 对泰国初中阶段汉语教材的研究——以《体验汉语》和《创智汉语》的初中版学生用书为例 th
dc.title.alternative การศึกษาแบบเรียนภาษาจีนระดับชั้นมัธยมศึกษาในประเทศไทย กรณีศึกษาแบบเรียน "สัมผัสภาษาจีน" และ "ภาษาจีนสร้างสรรค์" th
dc.title.alternative The Reasearch of Chinese Textbooks in Thailand's High School "Experiencing Chinese " and " Chuangzhi Chinese" As and Example th
dc.type Thesis th
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต th
dc.degree.level ปริญญาโท th
dc.degree.discipline การสอนภาษาจีน th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account