DSpace Repository

基于产品生命周期背景下泰国旅行社产品对策研究 ----以A旅行社为例

Show simple item record

dc.contributor.advisor 李仁良
dc.contributor.advisor Li, Renliang
dc.contributor.author 黄晶
dc.contributor.author Huang, Jing
dc.date.accessioned 2022-10-31T13:22:48Z
dc.date.available 2022-10-31T13:22:48Z
dc.date.issued 2013
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/853
dc.description Thesis (M.B.A.) (Business Administration) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2013. th
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. การวิเคราะห์สำหรับผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ของบริษัทเอ อย่างเป็นระบบ 2. เพื่อพัฒนาและค้นหาวิธีการปรับปรุงของผลิตภัณฑ์ 3. เพื่อยกระบบคุณภาพการบริการและความเชื่อถือ วิธีการวิจัยรวมถึงวิธีค้นหาวรรณกรรม วิธีวิจัยเชิงปริมาณ วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยค้นหาข้อมูลที่นักท่องเที่ยวจีนมาเที่ยวเมืองไทย และห้องสมุด วิธีวิจัยเชิงปริมาณ ดำเนินการวิจัยการสุ่มตัวอย่างที่มีขนาดของกลุ่มตัวอย่าง 250 คน ผ่านเส้นทางการท่องเที่ยว "จีน-กรุงเทพฯ-พัทยา" การสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่เดินทางเป็นกลุ่ม สถานที่เก็บข้อมูล เป็นพื้นที่สองแห่งที่มีปริมาณนักท่องเที่ยวจำนวนมาก สังเกตได้ง่ายในกรุงเทพฯ และจากนั้นเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสำรวจการวิเคราะห์และสรุปวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยทำการศึกษาเกี่ยวกับตัวอย่างบริษัทการท่องเที่ยว (บริษัทเอ) ในประเทศไทย สัมภาษณ์ถึง 6 คน พนักงานที่ทำงานที่เกี่ยวข้องและจัดเรียงเนื้อหาการสัมภาษณ์ใช้ในการศึกษา ผลการวิจัย 1. ในปัจจุบันเส้นทางท่องเที่ยว "จีน-กรุงเทพฯ-พัทยา" อยู่ในวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ที่ซบเซา สาเหตุอาจสามารถสรุปเป็น 6 ข้อ ดังนี้ ผลิตภัณฑ์นี้ไม่สามารถช่วยให้นักท่องเที่ยวได้รับรู้ถึงความเป็นประเทศไทยอย่างแท้จริง เส้นทางผลิตภัณฑ์ไม่ได้มีการออกแบบอย่างใส่ใจ เสียค่าใช้จ่ายผลิตภัณฑ์สำหรับการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมเพิ่มเติม พนักงานส่วนใหญ่ไม่มีความเป็นมืออาชีพ โรงแรมส่วนใหญ่จัดให้อยู่ในพื้นที่ห่างไกล การควบคุมสุขอนามัยในอาหารไม่เข้มงวดพอ 2. การปรับปรุงของบริษทเอ อาจพัฒนาได้จาก 4 ด้าน ดังต่อไปนี้ หน่วยงานการท่องเที่ยวจีนมีความร่วมมือควรเสริมสร้างความรู้สึกของความรับผิดชอบในการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ และการวางความสำคัญกับผลประโยชน์ร่วมกันบริษัทเอ ต้องดำเนินการฝึกอบรมพนักงานของตน และการออกแบบเส้นทางต้องปรับปรุงให้สมบูรณ์แบบ ผู้ออกแบบเส้นทางมีหน้าที่ที่จะพัฒนาเรื่องสุขอนามัยและความสะดวกสบายในการบริการนักท่องเที่ยวเอง จำเป็นต้องปรับเปลี่ยนวิธีการคิดในการเดินทาง คุณภาพของผลิตภัณฑ์จะต้องมีการปรับปรุงให้ดีขึ้น โหมดการทำงานต้องมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเหมาะสมและมีความยืดหยุ่น นักท่องเที่ยวจะได้รับการสอนในแนวความคิดการเดินทางที่จะทำให้พวกเข้าได้รับความพึงพอใจมากขึ้นในทางจิตใจ 3. การปรับปรุงในหลายด้านรวมถึงการออกแบบ เส้นทางการเชื่อมโยงอุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวก การอบรมพนักงานบริษัทท่องเที่ยวให้มีคุณภาพสามารถเพิ่มคุณภาพการบริการและความจงรักภักดีของนักท่องเที่ยวที่เดินทางในประเทศไทย ข้อเสนอของผู้วิจัย ผู้วิจัยอยากให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความสนใจกับปัญหาที่มีอยู่ในเส้นทาง "จีน-กรุงเทพฯ-พัทยา" ปัจจุบันเพื่อให้เส้นทางสามารถเข้ากับหลายแง่มุมของการท่องเที่ยวของไทย เช่น วัฒนธรรม เศรษฐกิจและประเพณีพื้นบ้าน เพื่อให้คุณภาพการท่องเที่ยวดีขึ้น th
dc.description.abstract This paper aims to: 1. enable A travel agency to conduct systematic analysis on its existing products ; 2. offer measures for product improvement ; 3. enhance the quality and loyalty of Chinese tourists traveling in Thailand. The study methods applied in the paper include literature search method, quantitatibe research method and qualitative research method. Literature search method: obtain information of Chinese tourists traveling in Thailand vis channels of internet and library. Quantitative research method: conduct sampling research with the sample size of 250 people through "China-Bangkok-Pattaya" traveling satisfaction survey on Chinese group tourists at two sites with evident flow of people in Bangkok, and then collect the survey data for analysis and summarization. Qualitative research method: conduct study on A travel agency in Thailand, make interview to 6 relevant working staff and sort out the interview contents for study. The following results are achieve in this paper: 1. At present, "China-Bangkok-Pattaya" product life cycle is at stanation. It can be ascribed to six points: the product cannot help tourists to get to know Thailand truly; product routes are rough; the products charge for extra fees; the staffs are not professional; most of the hotels are in remote areas; control of hygiene in catering is not strict enough. 2. A travel agency has to make improvements from 4 aspects: Chinese travel agency in cooperation should reinforce the sense of responsibility in product promotion and lay more emphasis on balances mutual benefits; The travel agency needs to conduct training to its staffs, the routes need to be modified and upgraded; the staff working for the routes are obliged to possess stronger consciousness on hygiene, convenience and service; tourists themselves need to adjust ways of thinking in traveling. The product quality need to be improved, the operation mode need to be changed appropriately and flexibly, the tourists shall be taught on traveling concepts to let them weigh opportunity costs as well as the spiritual needs and satisfaction obtained 3. Improvements in multiple aspects, e.g. route design, linkage equipment and facility, travel agency staff quality advancement, can enhance the quality of and loyalty of tourists traveling in Thailand. The author suggests that relevant departments must pay attention to the existing problems in "China-Bangkok-Pattaya" route, so that the route can be combines with multiple aspects of Thailand's tourism, culture, economy, folk traditions and folk customs and to ensure that the quality of the tourism will be improved sooner. th
dc.description.abstract 本论文需要达到的目的是: 1、为了让A旅行社对现有的产品进行系统的分析; 2、为了对产品改善提供策略; 3、为了提高游客在泰旅游的质量和忠诚度。 本文主要运用的研究方法是文献搜索法、定量研究法和定性研究法。文献搜索法: 通过互联网、图书馆等渠道,已获取了中国游客泰国旅游的资料; 定量研究法: 通过设计中国团队游客 "中国--曼谷--芭提雅" 旅游满意度问卷调查表进行抽样调查,样本容量为250人,调查地点为曼谷其中两个人流量明显的区域,最后收集整理问数据统计进行分析; 定性研究法: 通过对泰国其中一家旅行社 A进行研究,访谈6位相关工作人员,整理访谈内容研究。 本文得到的结果是: 1、现阶段 "中国--曼谷--芭提雅" 产品生命周期的停滞期。大致情况归结于以下六点: 产品不能真正了解泰国; 产品线路设计草草了; 产品额外加收费用; 工作人员专业素质不够; 酒店大多数较偏远; 餐饮卫生环节把关不够严谨。2、A旅行社需从4个方面进行改善:中国合作组团社应在推销产品方面,加强责任心,站在双方利益均衡角度考虑: A旅行社自身应对员工进行培训,路线进行改善升级;线路参与者应加强卫生、便利及服务相关意识; 游客自身应调整旅游思维方式。改善产品质量、适当灵活改变运营方式、教游客旅游的概念,让其衡量机会成本以及得到的精神需求满意度。3、行程线路设计、环节配备设施、旅行社自身工作人员素质的提升等多方面改善提高游客在泰旅游的质量和忠诚度。 笔者建议,望相关部门对目前“中国--曼谷--芭提雅”线路存在的问题引起重视,使线路更加与泰国的旅游文化经济及民风民俗等多方面相融合,提高旅游质量。
dc.language.iso zh th
dc.publisher Huachiew Chalermprakiet University th
dc.subject 旅行社 -- 泰国 th
dc.subject บริษัทนำเที่ยว -- ไทย th
dc.subject Travel agents -- Thailand th
dc.subject วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ th
dc.subject Product life cycle th
dc.subject การจัดการผลิตภัณฑ์ th
dc.subject 产品管理
dc.subject 产品生命周期
dc.title 基于产品生命周期背景下泰国旅行社产品对策研究 ----以A旅行社为例 th
dc.title.alternative กรณีศึกษากลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ขอบริษัทตัวแทนการท่องเที่ยวไทยตามหลักวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ th
dc.title.alternative A Case Study of Thai Travel Agency's Products Strategy Based on Product Life Cycle th
dc.type Thesis th
dc.degree.name บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต th
dc.degree.level ปริญญาโท th
dc.degree.discipline การบริหารธุรกิจจีน th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account