Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/100
Title: 跨文化交际视野下泰国学生的旅游汉语教程研究
Other Titles: การศึกษาภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวสำหรับนักเรียนไทยจากมุมมองการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
Tourism Chinese for Thai Students from the Perspective of Intercultural Communication Tutorial Research
Authors: 李寅生
Li, Yinsheng
陈雅群
คณิศร ฉันทศรีวิโรจน์
Keywords: Chinese language -- Study and teaching
Intercultural communication
Tourism -- Thailand
Chinese language -- Usage
ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน
การศึกษาระหว่างวัฒนธรรม
ภาษาจีน -- การใช้ภาษา
การท่องเที่ยว -- ไทย
旅游汉语教学
文化差异
跨文化交际
课程研究
汉语 -- 语言使用
Issue Date: 2020
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: ความแตกต่างทางวัฒนธรรมเกิดจากผู้คนที่มีภูมิหลังทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมทำให้เกิดความขัดแย้งจึงเป็นเรื่องปกติ การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมเป็นความรู้ทางทักษะซึ่งครอบคลุมถึงทัศนคติและการเข้าใจถึงความแตกต่างทางวัฒนธรรมของทั้งสองฝ่าย การสอนภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว นอกจากความสามารถขั้นพื้นฐานทางภาษาแล้ว การฝึกฝนความสามารถในการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมก็เป็นสิ่งสำคัญเช่นกัน ซึ่งจะช่วยให้ผู้ประกอบการท่องเที่ยวในประเทศไทยรู้แนวทางในการปรับปรุงการให้บริการที่ดีขึ้นและหลีกเลี่ยงข้อพิพาทที่เกิดจากความขัดแย้งทางวัฒนธรรมอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าแต่ละมหาวิทยาลัยในประเทศไทย จะมีหลักสูตรเกี่ยวกับภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว แต่สถาบันเหล่านี้ก็ไม่ได้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับความแตกต่างทางวัฒนธรรมระหว่างไทยกับจีนและทักษะการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมเท่าที่ควร จนถึงขณะนี้ การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยเกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถในการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมยังคงมีไม่มากนัก และแม้แต่ตำราที่มุ่งเน้นเนื้อหาดังกล่าวที่เหมาะสมก็ยังมีไม่เพียงพอ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มุ่งหวังที่จะศึกษาเกี่ยวกับความสามารถในการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมและความแตกต่างทางวัฒนธรรมระหว่างไทย-จีน ศึกษาเกี่ยวกับตำราการเรียนการสอนภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวและการเรียบเรียงหนังสือแบบเรียนในมหาวิทยาลัยในประเทศไทย จุดประสงค์เพื่อที่จะเพิ่มเนื้อหาตรงส่วนนี้เข้าไปในตำราและการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา วิทยานิพนธ์ฉบับนี้รวมหกบท: บทที่ 1 ศึกษาตำราและหลักสูตร "ภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว" มหาวิทยาลัยในประเทศไทย ผลของการสำรวจ ทุกมหาวิทยาลัยยังไม่มีการจัดทำหลักสูตร "ภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว" บทที่ 2 และ 3 การสำรวจความต้องการที่สอดคล้องกับความเป็นจริงของตลาดท่องเที่ยวจีนเกี่ยวกับการบริการด้านภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวในประเทศไทย โดยการสำรวจจากผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวในประเทศไทยและต่างประเทศ มัคคุเทศก์ไทยและมัคคุเทศก์ต่างชาติในประเทศไทย โรงแรมร้านอาหารและสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ให้ความเห็นเกี่ยวกับตำรา "ภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว" ในปัจจุบันจำเป็นต้องมีเนื้อหาเกี่ยวกับความแตกต่างทางวัฒนธรรมระหว่างไทย-จีน และเนื้อหาเกี่ยวกับทักษะการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมหรือไม่ บทที่ 4 การยกตัวอย่างความเข้าใจที่ไม่ตรงกันของการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมาและวัฒนธรรมต่างระหว่างไทย-จีน ทำให้เกิดการเข้าใจผิดจนนำไปสู่การทะเลาะวิวาทกัน บทที่ 5 ปัญหาและความไม่สมบูรณ์ของตำราและหลักสูตรการเรียนการสนอ "ภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว" บทที่ 6 การจัดตั้งหลักสูตร และแนวคิดใหม่สำหรับ "ภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว" การให้ความสนใจตำราและการเรียนการสอนภาษาจีนเกี่ยวกับการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมที่เน้นความแตกต่างทางวัฒนธรรมระหว่างไทย-จีนนั้น มีบทบาทสำคัญต่อการท่องเที่ยวในปัจจุบัน ผู้เขียนมีจุดประสงค์อย่างแรงกล้าที่ต้องการให้นักศึกษาในระดับอุดมศึกษาได้มีทักษะการใช้ภาษาจีนและมีทักษะการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมที่สูงขึ้น เพื่ออนาคตจะได้เป็นบุคลากรที่มีความสามารถในการดำเนินกิจการเกี่ยวกับการท่องเที่ยวและสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวชาวจีนซึ่งเป็นนักท่องเที่ยวที่สำคัญเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยให้มากขึ้น
Cultural differences arise beacuse people have different cultural backgrounds, and cultural conflicts are a common phenomenon in intercultural communication. Intercultural communication is a comprehensive ability that includes knowledge, skills, attitudes, and cultural awareness. In the teaching of Chinese for tourism, in addition to the basic language ability, the cultivation of intercultural communication competence is an important aspect. This ability can help Thai tourism practitioners avoid disputes causes by cultural conflicts and better serve. However, although the colleges and universities in Thailand have courses on Chinese Tourism, they do not pay enpugh attention to cultural differences between Thailand and China intercultural communication skills. So far, the cultivation of intercultural communicative competence in Chinese teaching in Thailand is still quite small, and even appropriate textbooks focusing on such content are scarce. Based on the cross-cultural communication ability and the differences between Thai and Chinese cultures, this thesis studies the teaching materials and preparatuin of "Tour Chinese" in Thai universities. The thesis consisted of six chapters: Chapter 1 investigates the use of the teaching materials and courses of "Chinese Tourism" by Thai universities. The results of the survey suggested that beneficial courses have not yet been implemented in universities. Chapter 2 and 3 : Surveys of Chinese tourism servise and the tourism market actual needs, investigation and analysis of enterprises engaged in tourism, such as domestic and foreign travel agencies, Thai and foreign tour guides, hotels, restaurants and tourist attracyions, to see whether the current "Chinese Tourism" textbooks need to include Thai-Chinese cultural differences and cross-cultural communication skills content. Chapter 4 observes the intercultural communication abiliyu in the Chinese teaching of tourism and the cultural differences between Thailand and Chins i.e. the cultural differences and cultural misunderstandings in the Chinese language service. Chapter 5, "Tourism Chinese" textbooks and curriculum problems and problems. Chapter 6, "Tourism Chinese" curriculum and new ideas for curriculum construction. The goal of cross-cultural Chinese communicative teaching and teaching materails focusing on cultural differences between Thailand and China is to educate Thai people with high Chinese language skills and cross-cultural communication skills to attract Chinese tourist to improve Thai tourism.
文化差异的产生是因为人们有着不同的文化背景, 文化冲突是跨文化交际中的一个普遍现象。跨文化交际是包括知识、技能、态度和文化意识等方面综合的能力。旅游汉语教学中, 基础语言能力之外, 跨文化交际能力培养是一个重要的方面。具备这一能力, 可以帮助泰国旅游从业人员避免由于文化冲突而引发的纠纷, 更好地进行服务。 然而, 虽然泰国各高校的学院都设有关于旅游汉语的课程, 但是却没有给与泰中文化差异以及跨文化交际能力等内容以足够的重视。到目前为止, 泰国汉语教学中跨文化交际能力的培养还是相当少, 甚至关注此类内容的合适的教材也非常匮乏。 本论文以跨文化交际能力和泰中文化差异为核心视角, 研究泰国高校的 《旅游汉语》教材及其编写。 论文共六章: 第一章调查泰国高校对《旅游汉语》教材与课程使用, 调查结果各大学尚未有设置《旅游汉语》课程; 第二章和第三章旅游汉语服务使用现状调查及旅游市场实际需求, 调查及分析从事有关旅游业的企业, 如国内外旅行社、泰籍和外籍导游、酒店、餐厅和旅游景区对目前《旅游汉语》教材是否需要加入泰中文化差异以及跨文化交际能力的内容。第四章旅游汉语教学中的跨文化交际能力与泰中文化差异, 旅游汉语服务中文化差异与文化误读的现象及专题举例。第五章《旅游汉语》教材与课程教学中存在的问题与不足。第 六章《旅游汉语》课程设置与课程建设新构想。 关注泰中文化差异的跨文化汉语交际教学及其教材, 目标是培养具有较高汉语技能和跨文化交际能力, 对更好地服务泰国旅游最大的客源—— 中国游客, 发展泰国的支柱产业旅游业, 有着非常重要的意义和作用。
Description: Thesis (D.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2020
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/100
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
KANISORN-CHANTASRIVIROJ.pdf
  Restricted Access
4.81 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.