Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/102
Title: 泰国学生汉语语音习得顺序研究
Other Titles: การศึกษาลำดับการเรียนรู้การอ่านตัวสะกดภาษาจีนกลางของนักเรียนไทย
A Sequential Study of Thai Students' Mandarin Chinese Phonetics Acquisition
Authors: Tang, Qiyuan
唐七元
苏国鹏
ชิตพงษ์ โสธิกุล
Keywords: ภาษาจีน -- ไวยากรณ์
ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน -- ผู้พูดภาษาต่างประเทศ
ภาษาจีน -- ตัวสะกด
ภาษาจีน -- การออกเสียง
Chinese language -- Study and teaching -- Foreign speakers
Chinese language -- Grammar
Chinese language -- Acquisition
Chinese language -- Pronunciation
汉语辅音
汉语元音
汉语声调
教学策略
Issue Date: 2020
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: เมื่อผู้เรียนเรียนรู้ต่างภาษา มักจะได้รับอิทธิพลต่างๆ จากภาษาแม่ เพื่อให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงผลกระทบของภาษาหนึ่งต่อการเรียนรู้อีกภาษาหนึ่ง จึงได้ศึกษากลุ่มตัวอย่างคนไทยที่พูดภาษาไทย กำลังเริ่มเรียนรู้ภาษาจีนกลาง โดยศึกษาความสัมพันธ์ที่คล้ายของการออกเสียงตัวสะกดภาษาไทยและภาษาจีน การออกเสียงพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ในภาษาจีนกลาง คิดจะแตกฉานในภาษาหนึ่ง การออกเสียงเป็นสัมผัสแรก นักเรียนไทยมีลักษณะเฉพาะในกระบวนการและลำดับการเรียนรู้การออกเสียงควรค่าแก่การศึกษา วิจัยนี้ศึกษาจากตัวอย่างนักเรียนชั้นประถม มัธยม อุดมศึกษาและการศึกษาผู้ใหญ่ ในเขตกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย วิเคราะห์โดยทดสอบจากเสียงที่บันทึกจากการอ่านปากเปล่าตามเนื้อหาที่กำหนด แบ่งกลุ่มตามสี่ช่วงอายุเพื่อสอบการออกเสียงคลาดเคลื่อน ผลการศึกษาได้ลำดับการเรียนรู้การอ่านตัวสะกดภาษาจีนกลางในแต่ละระดับ ท้ายสุดนำมากำหนดกลยุทธ์การสอน สรุปเป็นข้อมูลย้อนกลับ ข้อควรทบทวน ยังเสนอทิศทางงานทดสอบและวิจัยด้านการเรียนรู้การอ่านตัวสะกดภาษาจีนกลางของนักเรียนไทยในอนาคต นวัตกรรมอยู่บนพื้นฐานของการนำเสียงบันทึกจากนักเรียนมาอนุมานโดยวิธีอุปนัยมาเป็นลำดับการเรียนรู้การออกเสียงตัวสะกดภาษาจีนกลาง หวังว่าจากการศึกษานี้ภายหน้าจะเป็นข้อมูลสนับสนุนเรื่องลำดับการเรียนรู้การออกเสียงตัวสะกดภาษาจีนกลางอันเป็นประโยชน์สำหรับการใช้งานในปัจจุบันและงานวิจัยในอนาคต
Learners may be influences by their mother tongue when they are learning other languages. In order to understand the influence of one language on the acquisition of another language, this study selects the primary Chinese learners whose native language is Thai as the research object to explore the tone of Thai and Chinese. The relationship between similarity and Chinese phonology acquisition. To master a language, the first thing to touch is the voice of the language. Thai students have a unique pattern in the process of Chinese phonetic acquisition, and the order of acquistion of their rhythm is worthy of further study. This paper, by taking students from primary and secondary schools, college and adult students in Bangkok, Thailand, to develop relevane test content, record and analyze the recording of students' oral teat, and divide Thai students' Chinese learning into four stages to make Chinese phonetic rhythm. Investiagte, and draw the Chinese acquisition order of students at each stage. Finally, related teaching strategies are proposed. The conclusion reviews the entire research process, points out the shortcomings of the research, and puts forward future research directions and expectations. The innovation lies in boldly inferring the acquisition order of the students's Chinese phonology based on the students' recording materials. I hope that my research will have some enlightenment on the teaching of Chinese phonology in the future, and provide more information for the study of the sequence of acquisition in the future.
学习者在学习其他语言时常常受到来自母语的各种影响, 为了了解一种语言对另一种语言习得的影响, 本文选择母语为泰语的初级汉语学习者为研究对象, 探究泰汉辅音、元音与声调相似度和汉语辅音、元音与声调音习得的关系。 要想掌握一门语言, 首先接触的就是这门语言的语音。泰国学生在汉语语音习得过程中吴现出了特有的规律, 这是非常值得深入研究的。本文通过以泰国曼谷市小中大与成教学生为调查对象, 对学生口语进行了录音与分析, 并将泰国学生汉语学习分为四个阶段进行偏误考察, 从而得出各阶段习得顺序, 最后提出相关教学策略。结语回顾了整个研究过程, 指出了研究的不足之处, 并提出了未来的研究方向以及期望。创新之处在于以学生的录音材料为基础, 大胆地推断了学生的汉语辅音、元音与声调习得顺序。希望本人的研究能够对今后的汉语辅音、元音与声调教学有一定的启示, 并为今后习得顺序领域研究提供更多的资料。
Description: Thesis (D.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2020
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/102
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
CHITPHONG-SOTHIKUL-Acquisition.pdf
  Restricted Access
9.05 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.