Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1025
Title: 《判决》和《校役老刘》的比较研究
Other Titles: วิเคราะห์นวนิยายเรื่อง “คำพิพากษา” และ “ภารโรงหลิว"
A Comparative Study of "Lao Liu the Caretaker" and "The Judgment"
Authors: 许总
Xu, Zong
梅伟兰
Mei, Weilan
Keywords: นวนิยายไทย -- ประวัติและวิจารณ์
Thai fiction -- History and criticism
泰国小说 -- 历史与批评
นวนิยายจีน -- ประวัติและวิจารณ์
Chinese fiction -- History and criticism
中国小说 -- 历史与批评
วรรณคดีเปรียบเทียบ
Comparative literature
比较文学
การวิเคราะห์เนื้อหา
Content analysis (Communication)
Issue Date: 2014
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: นวนิยายเรื่อง "คำพิพากษา" และ "ภารโรงหลิว" เป็นวรรณกรรมของไทยและจีนที่มีความโดดเด่นด้านสังคมและยุคสมัย ตัวละครเอกของเรื่องเป็นชนชั้นแรงงาน ยึดอาชีพภารโรงอยู่ในโรงเรียน แต่ตัวละครเอกของทั้งสองเรื่องกลับมีจุดจบที่แตกต่างกัน "ฟัก" ในเรื่อง "คำพิพากษา" เป็นตัวละครที่เป็นตัวแทนของคนยุคก่อน เป็นคนจิตใจดี ชอบช่วยเหลือคน หลังจากที่พ่อตายเหลือแต่แม่เลี้ยงสติไม่ดี ฟังอยู่ดูแลแม่เลี้ยงต่อไป แต่ด้วยความมีอคติของมนุษย์ ความแล้งน้ำใจของคนในสังคมและความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัยที่รับในความมีคุณธรรมของฟักไม่ได้ ดังนั้น เขาจึงถูกสังคมทอดทิ้ง เขาใช้เหล้าเป็นที่ระบายความอัดอั้นตันใจ และช่วยให้เขาลืมความสับสนวุ่นวายของมนุษย์ รวมถึงลืมเรื่องอยุติธรรมที่เขาพบเห็น แต่เหล้าก็กลับทำร้ายตัวเขาจนไม่สามารถหันหลังกลับได้ ในส่วนของครูใหญ่เป็นตัวแทนของคนยุคใหม่ เป็นนักฉวยโอกาส เสแสร้งเป็นคนดี นวนิยายเรื่องนี้ ผู้เขียนตั้งใจเปรียบเทียบลักษณะคนสอบประเภทนี้ผ่านตัวละครทั้งสอง สะท้อนให้เห็นถึงความยากลำบากและท้าทายเมื่อต้องเผชิญกับช่วงเปลี่ยนผ่านวัฒนธรรมจากยุคเก่าสู่ยุคใหม่ นวนิยายเรื่อง "ภารโรงหลิว" นายหลิวตัวละครเอกของเรื่องมีชีวิตอยู่ในยุคกึ่งศักดินากึ่งอาณานิคม ด้วยสภาพสังคมที่ง่อนแง่นและฐานะที่ต่ำต้อย ทำให้เขาต้องทนถูกเหยียดหยามและแบกรับความอยุติธรรม แต่เขาอาศัยจิตใจที่เข้มแข็งและไม่ย่อท้อ ดำเนินชีวิตต่อไป สะท้อนให้เห็นถึงสภาพของคนชั้นล่างในสมัยนั้น วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาเปรียบเทียบเบื้องหลังนวนิยาย เรื่อง "คำพิพากษา" และ "ภารโรงหลิว" ทั้งด้านประวัติผู้แต่ง แนวคิดในการเขียน ลักษณะการประพันธ์ รวมถึงเปรียบเทียบยุคสมัยของ "ฟัก" และ "นายหลิว" ลักษณะนิสัยตัวละครทั้งสอง และชะตาชีวิตที่แตกต่างกัน อีกทั้งยังเปรียบเทียบตัวละครอื่นๆ และเปรียบเทียบด้านสังคม ด้านวัฒนธรรมและจิตวิญญาณ อีกทั้งปัญหาและข้อบกพร่องทางสังคมที่เกิดจากความแตกต่างของประเทศและแต่ละยุคสมัยในนวนิยายทั้งสองเรื่อง โดยสรุปนวนิยายทั้งสองเรื่องมีความหมายทางสังคมและมีคุณค่าควรศึกษาอย่างมาก ขณะศึกษาวิเคราะห์ผู้เขียนได้แสดงความคิดเห็นและมุมมองส่วนตัว ด้วยหวังว่าวิทยานิพนธ์ฉบับนี้จะมีคุณค่าต่อการศึกษาเปรียบเทียบวรรณคดีไทย-จีนต่อไป
"The Judgment" and "Lao Liu The Caretaker" are Thai and Chinese Literature which possess characteristic of an era and significance of the social. The Protagonists in both literature works live in the low class society. They are school worker but both of them have a different ending. Fag, in The Judgment, represents the traditional character. He is kind and helpfulness. After his father passed away, he has to take care his mental disorder stepmother. He was anti and abandon by the merciless social. So he vringd alcohol to eliminate all his trouble and injustice he faces. Finally, he becomes an alcoholic. While the schoolmaster represents modernized character. He is an opportunistic person and always take advantage over the others. Both novels aim to compare the traditional and modernized culture through the different kind of characters. Lao Li, in Lao Liu The Caretaker, lives in Chinese half feudal half coronial period. His low status in society causes him got a disgrace from the surrounding people. But with his dauntless spirit, he strongly survive. This novel reflect the appearance of low class people in that period. This comparatibe study of "The Judgment" and "Lao Liu The Caretaker" point to writers background, ideas, written style, key characters background including comparative of others characters in the novel. With the topic mentioned above, this thesis reveals the two different characters, culture and spirit. The social problem left in different country and era. Therefore, this two novels is valuable to study. In this thesis, researcher raise some personal opinion. With expect that this thesis would be useful for Thai-Chinese Literature Comparison meaning.
《判决》和《校役老刘》都是泰国和中国具有时代特色和社会意义的文学作品。作品的主人公都是社会底层的劳动者,都从事校役工作,但他们却有着不一样的命运结局。《判决》中的发是传统派的代表人物,他心地善良,乐于助人,父亲死后,遗下神经不正常的继母,发出于道义继续赡养继母,但世俗的偏见和社会的冷酷无情使他背上了乱伦和不道德的枷锁。他在抑郁中与酒结下了不解之缘,酒使他暂时忘却人世间的烦恼,忘却了自己所遭遇的不公平待遇,并使他增加胆量。但酒也伤害了他的身心,最终使他走上了不归路。而以校长为代表的现代派,因善于钻营、投机取巧和粉饰自己而如鱼得水。作品正是通过两个角色的鲜明对比,反映了传统文化在现代化发展进程中所面临的困境与挑战。《校役老刘》中的老刘,生活在旧中国半封建半殖民地的社会时代,社会的动荡和卑微的地位,使他遭受种种耻辱和不公平的待遇。但他以顽强和不屈不挠的精神,坚强活着。反映了当时社会底层民众要解放、要民主自由的思想。本文主要研究《判决》和《校役老刘》的创作背景即作者的人生经历、创作思想、艺术风格,发与老刘时代背景,性格特征和不同命运,以及作品的其他人物和社会学意义的比较。通过对以上课题和内容的比较分析研究,揭示了两位主人公不同命运结局的社会根源、文化背景和精神风貌等,以及不同国度、不同时代所存在的社会问题和弊病。因此,这两部小说都有重大的社会意义和研究价值。笔者在分析和研究本文的过程中,提出了一些个人的观点和看法,希望本文能够成为中泰比较文学中一次有意义的探讨。
Description: Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2014
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1025
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Mei, Weilan.pdf2.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.