Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1053
Title: Facebook Group Usage as a Learning Management System for an ESP Undergraduate Course
Other Titles: การใช้กลุ่มเฟซบุ๊คในฐานะระบบการจัดการเรียนรู้สำหรับวิชาภาษาอังกฤษเพื่อวิชาชีพระดับปริญญาตรี
Authors: Noparat Tananuraksakul
นพรัตน์ ธนานุรักษากุล
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts
Keywords: ภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน (อุดมศึกษา)
English language -- Study and teaching (Higher)
เฟซบุ๊ค
Facebook (Electronic resource)
แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์
Achievement motivation
กลยุทธ์การเรียนรู้
Learning strategies
Issue Date: 2013
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: The present study qualitatively explores the ways in which a Facebook group created and used as a learning management system enhances undergraduate students’positive attitudes towards and motivation in learning English for specific purposes (ESP). The participants consist of a total number of ten students (N = 10), enrolled in the EG5203 English Reading-Writing for Professional Purposes Class and using Facebook regularly. They shared that they failed this course last year and that they disliked English and only wanted to pass their exams or just get a D grade. These voices reflect negative attitudes towards and a low degree of extrinsic motivation in learning English. Both are affective factors that interdependently influence learners’ achievement. The exploration was conducted by means of virtual observations and interviews, and data were analyzed and grouped into common themes. The outcomes show that the use of a Facebook group can enhance the students’ positive attitudes towards learning ESP to some extent and simultaneously motivate them to learn ESP integratively or intrinsically. The outcomes also indicate positive directions that the students who learn English as a foreign language (EFL) feel connected to global knowledge via the use of a Facebook group and learning at school seems relevant to them. The results also offer insightful implications for EFL teachers.
งานวิจัยเรื่องนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อศึกษาการใช้กลุ่มเฟซบุ๊คในฐานะระบบการจัดการเรียนรู้ว่าสามารถเสริมสร้างนักศึกษาระดับปริญญาตรีให้มีทัศนคติเชิงบวกและแรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพได้หรือไม่ ผู้เข้าร่วมวิจัยประกอบด้วยจํานวนนักศึกษาจํานวนสิบคนซึ่งลงทะเบียนเรียนในรายวิชา EG 5203 การอ่านและเขียนภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ เป็นนักศึกษาที่ใช้เฟซบุ๊คเป็นประจําไม่ชอบเรียนวิชาภาษาอังกฤษ สอบไม่ผ่านรายวิชาดังกล่าวนี้แล้วหนึ่งครั้งและขอเพียงสอบผ่านหรือได้เกรดระดับ D ในรายวิชาภาษาอังกฤษนี้ คุณลักษณะเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึงทัศนคติเชิงลบและแรงจูงใจจากภายนอกระดับต่ําที่มีต่อการเรียนภาษาอังกฤษ ทั้งทัศนคติและแรงจูงใจนับเป็นตัวแปรด้านเจตคติที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาโดยตรง ผู้วิจัยเก็บข้อมูลด้วยวิธีสังเกตการณ์และการสัมภาษณ์จากนั้นนําข้อมูลมาวิเคราะห์และแบ่งกลุ่มเป็นธีม ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการใช้งานกลุ่มเฟซบุ๊คสามารถเสริมสร้างนักศึกษาให้มีทัศนคติเชิงบวกต่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพและกระตุ้นแรงจูงใจจากภายในให้เรียนภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพได้ในระดับหนึ่ง อย่างไรก็ตาม ผลวิจัยระบุทิศทางเชิงบวกว่าผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศสามารถรู้สึกได้ว่การเรียนผ่านการใช้กลุ่มเฟซบุ๊คสามารถเชื่อมโยงตัวผู้เรียนกับความรู้ระดับโลกและเชื่อมโยงผู้เรียนกับการเรียนที่สถาบันศึกษาด้วยวิจัยที่ได้ยังมีประโยชน์สําหรับครูผู้สอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศอีกด้วย
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1053
Appears in Collections:Liberal Arts - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Noparat-Tananuraksakul.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.