Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1075
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพรรณศิริ จุลกาฬ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์th
dc.date.accessioned2023-01-20T05:20:20Z-
dc.date.available2023-01-20T05:20:20Z-
dc.date.issued1995-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1075-
dc.descriptionสารบัญ: ประวัติความเป็นมาจังหวัดสมุทรปราการ : ประวัติศาสตร์จังหวัดสมุทรปราการ ; สภาพภูมิศาสตร์ การปกครอง และเศรษฐกิจของจังหวัดสมุทรปราการ ; สภาพภูมิศาสตร์ การปกครอง และเศรษฐกิจของอำเภอเมืองสมุทรปราการ ; สภาพภูมิศาสตร์ การปกครอง และเศรษฐกิจของอำเภอพระประแดง ; สภาพภูมิศาสตร์ การปกครอง และเศรษฐกิจของอำเภอบางพลี ; สภาพภูมิศาสตร์ การปกครอง และเศรษฐกิจของอำเภอบางบ่อ ; สภาพภูมิศาสตร์ การปกครอง และเศรษฐกิจของอำเภอำพระสมุทรเจดีย์ -- ประเพณีและวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นอำเภอเมืองสมุทรปราการ : ประเพณีและวัฒนธรรมประจำท้องถิ่น อำเภอเมืองสมุทรปราการ : วัดและโบราณสถาน ; ประเพณีประจำท้องถิ่น ; วัฒนธรรมด้านหัตถกรรม ; วัฒนธรรมด้านอาหาร ; วัฒนธรรมด้านการแต่งกาย -- ประวัติศาสตร์ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่นอำเภอพระประแดง : ประวัติศาสตร์อำเภอบางพลี ; วัดและโบราณสถาน ; ประเพณีและวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นของมอญปากลัด ; ประเพณีการละเล่น ; วัฒนธรรมการแสดง ; วัฒนธรรมด้านหัตถกรรม ; วัฒนธรรมด้านอาหาร ; วัฒนธรรมด้านการแต่งกาย -- ประวัติศาสตร์ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่นอำเภอบางพลี : ประวัติศาสตร์อำเภอบางพลี ; วัดและโบราณสถาน ; ประเพณีประจำท้องถิ่น ; ประเพณีที่เกี่ยวกับการละเล่น ; วัฒนธรรมด้านอาหาร -- ประวัติศาสตร์ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่นอำเภอบางบ่อ : ประวัติศาสตร์อำเภอบางบ่อ ; วัดและโบราณสถาน ; ประเพณีประจำท้องถิ่น ; ประเพณีการละเล่นและการแสดง -- ประวัติศาสตร์ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่นอำเภอพระสมุทรเจดีย์ : วัดและโบราณสถาน ; เบ็ดเตล็ด -- ภาคผนวก : ตราสัญลักษณ์และคำขวัญประจำจังหวัดสมุทรปราการ ; ต้นไม้และป่าชายเลน ; ป่าช้าช้าง ; ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ ; แพทย์แผนปัจจุบันของจังหวัดสมุทรปราการ ; สวางคนิวาส ; สถานตากอากาศบางปู ; นิคมอุตสาหกรรมบางปู ; สถานสงเคราะห์คนพิการและทุพพลภาพพระประแดง ; มูลนิธิราชประชาสมาสัย ; หมู่บ้านโสสะ ; บ้านบางปิ้ง - มูลนิธิ "สิริวัฒนา-เชสเชียร์" ; ปากน้ำสุสานมูลนิธิ-วัยวัฒนานิวาส ; ด่านตรวจคนเข้า-ด่านตรวจศุลกากร-กองกำกับการตำรวจน้ำ สมุทรปราการ ; ศูนย์ฝึกพาณิชย์นาวี ; โรงเรียนนายเรือ ; ฟาร์มหนองงูเห่า ; เพลงประจำจังหวัดสมุทรปราการ ; พิพิธภัณฑ์หทารเรือ ; เมืองโบราณ ; พิพิธภัณฑ์หอยth
dc.description.abstractจังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่างบริเวณปากอ่าวไทย ซึ่งเป็นเมืองหน้าด่านในอดีตที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน และเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์บ้านเมืองที่สำคัญหลายครั้ง จึงทำให้มีประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ทรงคุณค่าและน่าสนใจศึกษาเป็นอย่างยิ่ง แต่เป็นที่น่าเสียดายที่วัฒนธรรมดีงามหลายอย่างกำลังจะถูกลดบทบาทลง และเกิดการเปลี่ยนแปลงไปบ้างในปัจจุบัน ดังนั้นจึงควรมีการรณรงค์ส่งเสริมให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายมากขึ้นและการศึกษาเบื้องต้นของวัฒนธรรมท้องถิ่นจังหวัดสมุทรปราการเป็นงานวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นของประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่นทั้ง 5 อำเภอ ในจังหวัดสมุทรปราการที่ยังคงปฏิบัติอยู่และที่ได้สูญหายไป เพื่อข้อมูลที่ได้จะเป็นแนวทางไปสู่การอนุรักษ์และเผยแพร่งานด้านวัฒนธรรมของจังหวัดต่อไป การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของวัฒนธรรมท้องถิ่นจังหวัดสมุทรปราการ ทั้งจากลายลักษณ์อักษรและคำบอกเล่า โดยการรวบรวมศึกษาจากเอกสารข้อมูลที่ได้ตีพิมพ์และศึกษาภาคสนาม โดยวิธีสัมภาษณ์สังเกตการณ์ประมวลข้อมูลเข้าด้วยกัน ผลจากการศึกษาพบว่า ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่นจังหวัดสมุทรปราการส่วนใหญ่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับน้ำเป็นส่วนใหญ่ นอกจากนั้นยังมีการรับเอาวัฒนธรรมของชาวมอญและวัฒนธรรมของชาวจีนมาผสมผสานกับวัฒนธรรมของตนด้วย แต่ยังมีประเพณีและวัฒนธรรมหลายประเภทที่ยังแข็งแกร่ง ได้รับการสืบทอดมาถึงปัจจุบัน และเนื่องจากจังหวัดสมุทรปราการเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมาหลายยุคหลายสมัย จึงมีประเพณีวัฒนธรรมของจังหวัดสมุทรปราการ คือ ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศวิทยา การเปลี่ยนแปลงทางด้านภาษา และการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนางานวัฒนธรรมท้องถิ่น ดังนั้นหน่วยงานที่มีหน้าที่สนับสนุน จึงควรตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจความเป็นมาของวัฒนธรรมท้องถิ่นนั้นก่อน เพื่อจะได้สร้างหรือปรับกลวิธีการที่จะอนุรักษ์ ส่งเสริมประเพณีและวัฒนธรรมต่างๆ ให้สอดคล้องกับความเป็นไปได้ของท้องถิ่นต่อไปth
dc.description.abstractSamutprakarn Province is located in the lower basin of Chaopraya River in the mouth region of Thai bay. In the past it was a front with long and important history concerning with events of country so it created the local customs and cultures that extremely valuable and interesting to study but unfortunately in the present, role and importance of many fine customs and cultures are declining and changing so it should have a campaign to promote to be known more widely. The purpose of this study is to research and collect basic data about local customs and cultures of 5 districts in Samutprakarn Province both those still performed and the lost one and all data will be used to guideline for a reservation project and to spread the cultural affairs of Samutprakarn Province. This study is local culture study by collecting data form documents and hearsay including site-study by interview and observation. The result of study found that most of local customs and cultures of Samutprakarn Province concern with water-way relation, besides this it has adopted the cultures and customs of Morn and Chinese to mix into their own customs and cultures too, but there are many customs and cultures which are strong and performed up to the present, and because of its long history passed many ages so some customs and cultures could not adjust to survice and eventually disappeared by times, and many factors that have great influence on the change of cultures of Samutprakarn Province are technological advance, change of ecology system, change of language and economic expansion which are important difficulties for local culture development so in the culture development it should realise the change of nature condition and understand the history of the cultures firstly in order to be able to creata or adjust strategies to reserve and promote various customs and cultures to comply with possibility of locallity in the future.th
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2538th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectวัฒนธรรมท้องถิ่น -- ไทย -- สมุทรปราการth
dc.subjectLocal culture -- Thailand -- Samutprakarnth
dc.subjectสมุทรปราการ -- ความเป็นอยู่และประเพณีth
dc.subjectSamutprakarn -- Social life and customsth
dc.subjectสมุทรปราการ -- ประวัติศาสตร์th
dc.subjectSamut Prakarn -- Historyth
dc.titleการศึกษาเบื้องต้นของวัฒนธรรมท้องถิ่นจังหวัดสมุทรปราการth
dc.title.alternativeA Survery Study of Local Culture of Samutprakarn Provinceth
dc.typeTechnical Reportth
Appears in Collections:Liberal Arts - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.pdf282.83 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdf4.45 MBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdf1.84 MBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdf821.61 kBAdobe PDFView/Open
Chapter6.pdf1.87 MBAdobe PDFView/Open
Chapter7.pdf592.05 kBAdobe PDFView/Open
TableofContents.pdf4.62 MBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdf56.04 MBAdobe PDFView/Open
Reference.pdf2.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.