Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1108
Title: 泰国中高级阶段汉语学习者连词篇误分析及教学对策研究——以北京语言大学曼谷学院为例
Other Titles: การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดการใช้คำสันธานภาษาจีนของนักศึกษาไทยในระดับกลาง-สูง และกลวิธีการสอนคำสันธาน : กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยภาษาและวัฒนธรรมปักกิ่ง วิทยาเขตกรุงเทพมหานคร
An Analysis of Conjunction Errors in Chinese Language of Intermediate and Upper-Intermediate Thai Students and Teaching Strategies : A Case Study of the Sample Group from Beijing Language and Culture University at Bangkok
Authors: 李志艳
Li, Zhiyan
刘蓝虹
ณัษฐภรณ์ จินดาสุรารักษ์
Keywords: มหาวิทยาลัยภาษาและวัฒนธรรมปักกิ่ง. วิทยาเขตกรุงเทพมหานคร
Beijing Language and Culture University -- Bangkok
ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน
Chinese language -- การศึกษาและการสอน
汉语 -- 学习和教学
ภาษาจีน -- คำสันธาน
Chinese language -- Conjunctions
汉语 -- 连词
Issue Date: 2016
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: คำสันธานเป็นประเด็นยากและเป็นประเด็นสำคัญของนักศึกษาไทย ผู้วิจัยศึกษาจากเรียงความในการสอบและเรียงความระหว่างเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยภาษาและวัฒนธรรมปักกิ่ง วิทยาขตกรุงเทพมหานคร รวบรวมข้อมูลได้ประมาณ 250,000 ตัวอักษร สร้างเป็นคลังข้อมูลภาษา เรื่อง ข้อผิดพลาดในการใช้คำสันธานของนักศึกษาไทย จากนั้นศึกษาวิเคราะห์ข้อผิดพลาดด้านคำสันธานภาษาจีนของนักศึกษาไทยในระดับกลาง-ระดับสูงโดยอาศัยคลังข้อมูลภาษานี้ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ในคลังข้อมูลภาษา 250,000 ตัวอักษรนี้ รวบรวมคำสันธานได้ทั้งหมด 139 คำ/คู่ คำระรดับ ก และระดับ ข คิดเป็นร้อยละ 72 คำระดับ ค และระดับ ง คิดเป็นร้อยละ 25 2. คำสันธานที่มีอัตราข้อผิดพลาดร้อยละ 0 และร้อยละ 100 จำแนกเป็น "43 คำ/คู่" และ "5 คำ/คู่" ตามลำดับ 3. คำสันธานที่ผู้เรียนทำความเข้าใจได้ดีมี 8 คำ/คู่ 4. คำสันธานที่ผู้เรียนทำความเข้าใจได้ไม่ค่อยดีมี 25 คำ/คู่ จากนั้นผู้วิจัยได้เลือกคำสันธานออกมา 9 คำ เพื่อวิเคราะห์และอธิบายข้อผิดพลาดในการใช้คำเหล่านั้น อีกทั้งยังสืบค้นที่มาของข้อผิดพลาดนั้นจากด้านต่างๆ รวม 4 ด้าน ได้แก่ แบบเรียน ตัวคำสันธานเอง การสร้างข้อสรุปเกินเหตุในภาษาปลายทาง และอิทธิพลจากภาษาแม่ เป็นต้น สุดท้ายผู้วิจัยได้เสนอกลวิธีด้านต่างๆ ทั้งการเรียบเรียงแบบเรียน การเตรียมสอนของผู้สอน และวิธีการสอนที่เป็นรูปธรรม เพื่อแก้ไขปัญหาในการเรียนการสอนคำสันธานให้กับนักศึกษาไทย โดยอ้างอิงจากผลการวิจัยข้างต้น
Conjunction usage in Chinese language is the difficult and important topic for Thai students. The researcher had gathered the data from essays of the Thai students delivered in the exams and class assignments during their enrollments in BLCU at Bangkok. The total data, which contained 250,000 characters, was incorporated into the corpus of the error of conjunction usage in Chinese language. The findings are summarized below: 1. In the corpus of 250,000 characters, there are 139 conjunction words/pairs which consist of 72% A and B level words, and 25% C and D level words. 2. The conjunction words founded with 0% error usage and 100% error usage were counted at "43 words/pairs" and "5 words/pairs" consecutively. 3. The conjunction words that the students can understand their usage thoroughly are 8 words/pairs. 4. The conjunction words that the students cannot implicitly understand their usage are 25 words/pairs. In the next step, the researcher selected 9 conjunction words to analyze and explain the error on the usage of these conjunctions.
连词是泰国学习者的重点和难点。目前,针对泰国学生的连词偏误所进行的研究相对较少。况且,由于这些论文所使用的语料过少、题材过于集中,体裁相对单一,使得其研究成果缺乏代表性。 我们使用北京语言大学曼谷学院学生的考试作文及平时习作,共计大约 25 万字的语料,建立了一个连词偏误语料库。借助该语料库,我们对泰国中高级阶段学生的连词使用情况进行了观察分析。我们的研究结果如下: 1.在 25 万字的语料中,共搜集到连词 139 个/对;其中甲级词和乙级词占了72%,而丙级词和丁级词仅占 25%。 2. 偏误率为0%和100%的连词分别为“43 个/对”和“5 个/对”。 3. 学生掌握得比较好的连词有8 个/对。 4. 掌握得比较差的有 25 个/对。 之后,我们挑出其中的9个连词,对其使用偏误进行了解析说明,并从教材方面、连词本身、目的语规则泛化和母语负迁移等四个方面,探讨了偏误的来源。最后,我们根据上述研究成果,从教材编写、教师备课及具体教法等方面,对泰国学生的连词教学提出了解决对策。
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2016
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1108
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NATTAPORN-CHINDASURARAK.pdf
  Restricted Access
52.14 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.