Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1149
Title: | ผลกระทบของฝุ่นจากการทำผ้าวนต่อประชาชนในชุมชนภูมิใจนิเวศน์ |
Other Titles: | The Impact of Dust from Phawon Production on the People in Poomjainives Community |
Authors: | อรวรรณ คุณสนอง Orawan Koonsanong Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health |
Keywords: | โรคเกิดจากสิ่งแวดล้อม Environmentally induced diseases โรคเกิดจากอาชีพ Occupational diseases ผ้าวน ฝุ่น Dust |
Issue Date: | 2016 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
Abstract: | รายงานการวิจัยเรื่อง ผลกระทบของฝุ่นจากการทำผ้าวนต่อประชาชนในชุมชนภูมิใจนิเวศน์ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยมุ่งเน้นศึกษาให้ทราบ ผลกระทบของฝุ่ นจากการทำผ้าวนต่อประชาชนในชุมชนภูมิใจนิเวศน์ และผลกระทบของระบบหายใจ ผิวหนัง สายตา กล้ามเนื้อ และความเครียด จากการทำผ้าวนต่อประชาชนในชุมชนภูมิใจนิเวศน์ ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ ผู้ประกอบอาชีพทำผ้าวน และผู้ที่ไม่ได้ประกอบอาชีพทำผ้าวนที่อาศัยอยูใน ชุมชนหมู่บ้านภูมิใจนิเวศน์โครงการ 6 ฝั่งซ้ายและฝั่งขวา หมู่ 4 ต าบลในคลองบางปลากด อำ เภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 317 คน ใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติพรรณนา ได้แก่ แจกแจงความถี่ ร้อยละ ส่วนในด้านการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหลัก โดยการสัมภาษณ์อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลในคลองบางปลากด ผู้ประกอบอาชีพทำผ้าวนกลุ่มตัวอยาง่ ในช่วง 1-2 ปี ที่ผานมามีอาการผิดปกติ คือ ปวดเมื่อย ตามตัวร้อยละ 61.7 รองลงมา อ่อนเพลียร้อยละ 40 อาการไอร้อยละ 23.3 ปวดศีรษะร้อยละ 13.3มีเสมหะร้อยละ 5 เจ็บอก/แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก มีอาการคล้ายหวัด ร้อยละ 5 ไข้ต่ำๆ ร้อยละ 3.3 และ เบื่ออาหารร้อยละ 3.3 ผู้ประกอบอาชีพทำผ้าวน ส่วนใหญ่มีผลกระทบปัญหาสุขภาพจากการทำผ้าวนร้อยละ 63.3 ผู้ที่ไม่ได้ประกอบอาชีพทำผ้าวนกลุ่มตัวอยางส่วนใหญ่ในช่วง 1-2 ปี ที่ผานมามีอาการผิดปกติพบว่า ส่วนใหญ่ปวดเมื่อยตามตัวร้อยละ 49.0 รองลงมา อ่อนเพลียร้อยละ 29.1 ปวดศีรษะ ร้อยละ 8.6 อาการไอร้อยละ 6.6 มีเสมหะร้อยละ 2.3 เบื่ออาหารร้อยละ 1.5 เจ็บอก/แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก มีอาการคล้ายหวัด ร้อยละ 1.5 และไข้ต่ำ ๆ ร้อยละ 1.2 ส่วนใหญ่ไม่ได้รับ ผลกระทบปัญหาสุขภาพจากการทำผ้าวนร้อยละ 85.10 ปัญหาผลกระทบของฝุ่นที่เกิดจากการทำผ้าวน คือ ปัญหาขยะเศษผ้าพบปัญหาระดับปานกลางร้อยละ 85.9 ฝุ่นใยผ้าและระบบหายใจพบปัญหาระดับปานกลางร้อยละ 86.4 ซึ่งเท่ากันระดับความเครียดในภาพรวม พบว่า ผู้ทำผ้าวนมีความเครียดอยู่ในระดับปกติหรือไม่เครียดร้อยละ 78.3 และเครียดปานกลางร้อยละ 1.6 ส่วนผู้ที่ไม่ได้ทำผ้าวนความเครียดอยู่ในระดับปกติร้อยละ 90.7 จากการสัมภาษณ์เชิงลึกพบวาเห็นด้วยในการให้ความรู้เรื่องโรคและการป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ โดยมีความประสงค์ให้หน่วยงานท้องถิ่นดูแลเรื่องความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย อันเนื่องจากปัญหาเศษผ้าที่วางล้ำาออกมากีดขวางการจราจรภายในชุมชน พร้อมทั้งควรจัดเตรียมอุปกรณ์ในการป้องกันอุบัติภัยที่อาจเกิดขึ้นในชุมชนและประชาชนในชุมชนมีความวิตกกงวลการเกิดอัคคีภัย ดังนั้นจึงควรกาหนดการจัดโซนในการประกอบอาชีพเพื่อลดความเสี่ยงจากการสัมผัสฝุ่นจากเศษผ้าและมีผลต่อสมาชิกที่อาศัยอยูในครัวเรือนเดียวก่อนและฟุ้งกระจายเข้าไปในบ้านข้างเคียงอาจทำให้เกิดปัญหาความขัดแย้งตามมา This qualitative research reported the impact of dust from Phawon production on the people in Ploomjainives community. It focused on the impact of the dust from Phawon production to villagers at the Ploomjainives community and the impact of respiration, skin, eyesight, muscle, and stress from making Phawon at Ploomjainives community. The data were collected by using the research has studied this case from questionnaire and interviewing. The subject are 317 villagers who produce Phawon for their living and the villagers who don’t. Both of example groups live in Ploomjainives community Phase 6,form both left side and right side at Moo 4,Nai Klong Bangplagot sub – district , Prasamutjedi district ,Samuthprakarn province. Besides, the researcher analyzed the data by using statistic,for example, frequency and percentage.For the qualitative analysis ,the researcher has collected the main data source is from the village of Nai klong Bangplagot sub – district. It was found that workers who have produced Phawon for living 1- 2 years got pain from muscles 61.7 % , fatigue 40% ,cough23.3%, headache 13.3%, phlegm 5%,chest pain, breathing ,symptom of a cold 5%, low fever 3.3% and no appetite 3.3% .Mostly they got their health impact 63.3%. On the other hand, people who have not produced Phawon for living 1- 2 years got pain from muscles 49.0 % , fatigue29.1% , headache 8.6%. cough 6.6%, no appetite and chest pain, breathing ,symptom of a cold 1.5 % and the last one low fever 1.2% . Mostly they have no health impact problem 85.1%.The dust from the production of Phawon causes the garbage problem and dust from fiber of remnant and the impact problem of respiration is at moderate level 86.4%. It has been found the perspective of stress from workers who produced Phawon got stress at normal level or have no stress 78.3%. Workers got stress at moderate level 1.6%.On the other hand people who did not produce Phawon have normal stress 90.7%. From In- depth interview it was found that the subjects wanted to get information about sickness from working with Phawon plus they wanted to know how to protect it .Including ,they need to help from local bureaucratic government to take care of cleaning and tidying their area, especially, to organize and tidy up big piles of remnant which they are laid out on the street, as a result ,they blocked the traffic on the street in the Soi, Furthermore,it should have been prepared fire equipment to protect unexpected fire accident. Organizing and zoning working area is quite important. Moreover, working with Phawon is risky from dust of remnant in their families too. Also, unexpected conflict might happen from spreading dust of remnant which annoys anybody in a neighbouring village. |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1149 |
Appears in Collections: | Public and Environmental Health - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Orawan.pdf | 2.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.