Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1172
Title: ลักษณะสัณฐานและความหลากหลายของปลาสลิดในประเทศไทย
Other Titles: Morphology and Biodiversity of Snakeskin Gourami (Trichogaster pectoralis) in Thailand
Authors: พรพิมล กาญจนวาศ
ชุตาภา คุณสุข
อลิษา สุนทรวัฒน์
สุภาภรณ์ วรรณภิญโญชีพ
เดชาวุธ นิตยสุทธิ
วิภาวรรณ วิทยกฤตศิริกุล
Pornpimon Kanjanavas
Chutapa Kunsook
Alisa Soontornwat
Supaporn Wannapinyosheep
Dechavudh Nityasuddhi
Vipawan Vitayakritsirikul
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology
Rambhai Barni Rajabhat University. Fcaulty of Science
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology
Keywords: ปลาสลิด -- ไทย
Snakeskin gourami
สัณฐานวิทยา
Morphology
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Biodiversity
Issue Date: 2016
Publisher: มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
Abstract: การศึกษาสัณฐานวิทยา และความหลากหลายของปลาสลิดในประเทศไทยโดยใช้ปลาสลิดอายุ 8 เดือน จาก 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดอยุธยา จังหวัดสระแก้ว จังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดนครปฐม จากการศึกษาความผันแปรของลักษณะภายนอกพบว่าปลาสลิดจากจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสระแก้ว จังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดนครปฐม มีการแปรผัน 3 ลักษณะ คือ 1) ลายแถบดําคล้ายลายเสือ 2) ลายแถบดํา 1 แถบกลางตัวหรือเรียกว่าลายจุด และ 3) ไม่มีแถบดํา ตัวมีสีขาวนวล แต่ปลาสลิดจากจังหวัดอยุธยา และฉะเชิงเทรามีเพียงลักษณะเดียว คือลายเสือ พบว่าปลาสลิดจากจังหวัดสมุทรสาครมีขนาดความยาวลําตัวมากที่สุด คือ 152.57 มิลลิเมตร ส่วนปลาสลิดจากจังหวัดฉะเชิงเทรามีดัชนีสมบูรณ์เพศสูงที่สุด คือ 13.68% จากการศึกษาความหลากหลายของปลาสลิดโดยใช้ยีน Cytochome oxidase subunit I และ Cytochome b นํามาทําแผนภาพอนุมานต้นไม้ด้วย MEGA 5 พบว่าสามารถจัดจําแนกปลาสลิดจาก 7 จังหวัดได้ 3 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มที่ 1 ปลาสลิดลายเสือจากจังหวัดสมุทรปราการ (SPV)ปลาสลิดลายเสือจากจังหวัดนครปฐม (NPTT) และปลาสลิดลายเสือจากจังหวัดเพชรบุรี (PTTT) กลุ่มที่ 2 ปลาสลิดลายจุดจากจังหวัดนครปฐม (NPWD) ปลาสลิดจากจังหวัดอยุธยาและปลาสลิดอ้างอิง Trichogaster pectoralis accession number HQ682729 กลุ่มที่ 3 คือ ปลาสลิดลายเสือจากจังหวัดสระแก้ว (SKTT) ปลาสลิดลายเสือจากจังหวัดสมุทรสาคร (SSDVT) และปลาสลิดจากจังหวัดฉะเชิงเทรา (CH)
The study on morphology age biodiversity of Snakeskin gourami (Trichogaster pectoralis) in eight months of fish, that collected from 7 provinces of Thailand namely Samut Prakan, Samut Sakhon, Chachoengsao, Phra Nakhon Si Ayutthaya, Sa Kaeo, Phetchaburi and Nakhon Pathom. The external variable was found from Pla- salid of Samut Prakan, Samut Sakhon, Sa Kaeo, Phetchaburi and Nakhon Pathom. There were three distinguished morphological characteristics inpla-salid as follows: 1) tiger-liked strips in Samut Prakan, Samut Sakhon, Sa Kaeo, Phetchaburi, Nakhon Pathom, Phra Nakhon Si Ayutthaya and Chachoengsao samples, 2) black bar at the middle of the body with black dots in Samut Prakan, Samut Sakhon, Sa Kaeo, Phetchaburi and Nakhon Pathom samples, and 3) bright white colour of body in Samut Prakan, Samut Sakhon, Sa Kaeo, Phetchaburi and Nakhon Pathom samples. Pla- salid from Samut Sakhon had the longest body of 152.57 mm. and Chachoengsao had the most complete of sexual integrity at 13.68 %. The biodiversity of Pla-salid was studied using cytochome oxidase subunit I gene and cytochome bgene. The phylogenetic tree of Pla- salid was carried on with MEGA 5 program that could divide into three groups as: 1) Pla-salid from Samut Prakan (SPV), Nakhon Pathom (NPTT) and Phetchaburi (PTTT), 2) Pla-salid from Nakhon Pathom (NPWD), Phra Nakhon Si Ayutthaya and Trichogaster pectoralis accession number HQ682729, and 3) Pla-salid from Sa Kaeo (SKTT), SamutSakhon (SSDVT) and Chachoengsao (CH).
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1172
Appears in Collections:Science and Technology - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pornpimon-Kanjanavas.pdf1.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.