Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1240
Title: | ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนแบบนำตนเองเพื่อสร้างศักยภาพการตัดสินใจอย่างมีเหตุผลทางคลินิกในรายวิชาการรักษาพยาบาลเบื้องต้น |
Other Titles: | The Effectiveness of Self-Directing Learning for Clinical Reasoning Development of Nursing Student : A Case Study of Primary Medical Care Subject, Faculty of Nursing, Huachiew Chalermprakiet University |
Authors: | จริยา ทรัพย์เรือง วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย พัชรี รัศมีแจ่ม Jariya Supruang Vanida Durongrittichai Patcharee Rasamejam Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing Nakhon Pathom Rajabhat University. Faculty of Nursing Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
Keywords: | พยาบาลศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน Nursing -- Study and teaching การเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง Self-managed learning นักศึกษาพยาบาล Nursing students การตัดสินใจทางคลินิก Clinical Decision-Making |
Issue Date: | 2019 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
Abstract: | การวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) ชนิดกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง (One group pretest posstest design) กลุ่มตัวอย่างโดยการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) งานวิจัยนี้มุ่งวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบนำตนเอง เพื่อสร้างศักยภาพการตัดสินใจอย่างมีเหตผลทางคลินิก: กรณีศึกษารายวิชาการรักษาพยาบาลเบื้องต้นต่อสมรรถนะด้านการปฏิบัติการรักษาพยาบาลเบื้องต้นของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกแบบเจาะจง เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 154 คน โดยกลุ่มตัวอย่างเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน ในรายวิชาการรักษาพยาบาลเบื้องต้น ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2554 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสมรรถนะการปฏิบัติการรักษาพยาบาลเบื้องต้น ซึ่งมีค่าความเที่ยง สัมประสิทธิ์ แอลฟาของครอนบาค (Cronbach alpha coefficient) เท่ากับ .87 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติทดสอบที (t-test) ทดสอบความแตกต่างของสมรรถนะการปฏิบัติการรักษาพยาบาลเบื้องต้นก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการจัดการเรียนการสอนแบบนำตนเอง เพื่อสร้างศักยภาพการตัดสินใจอย่างมีเหตุผลทางคลินิก : กรณีศึกษารายวิชา การรักษาพยาบาลเบื้องต้น ผลการวิจัย พบว่า สมรรถนะด้านการปฏิบัติการรักษาพยาบาลเบื้องต้นของนักศึกษาพยาบาลก่อนและหลัก การเข้าร่วมโปรแกรมการจัดการเรียนการสอนแบบนำตนเองเพื่อสร้างศักยภาพ การตัดสินใจอย่างมีเหตุผลทางคลินิก: กรณีศึกษารายวิชาการรักษาพยาบาลเบื้องต้น มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลจากการประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนแบบนำตนเองเพื่อสร้างศักยภาพ การตัดสินใจอย่างมีเหตุผลทางคลินิก: กรณีศึกษารายวิชาการรักษาพยาบาลเบื้องต้นต่อสมรรถนะ ด้านการปฏิบัติการรักษาพยาบาลเบื้องต้นของนักศึกษาพยาบาลในครั้งนี้ ก่อให้เกิดประสิทธิผลในการเรียนรู้ของผู้เรียน จึงเป็นการจัดการเรียนการสอนแบบนำตนเอง การเรียนรู้ที่ควรนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ต่อไป This study aimed to study the self-directed learning for clinical reasoning developing : a case study of primary health care practicum course to primary health care practice competency in nursing students. Purposive sampling was used to recruit the sample. The were 154 of 4nd year nursing students who participted in primary health care practicu course. The instruments included primary health care practice competency in nursing students of study questionnaire with Cronbach's alpha coeficient .87. Descriptiive statistiic (percentage, mean, and standard deviation) was used to analyze the data. The finding revealed that avergae scores of primary health care practice competency were high in nusring students. The results revealed that primary health care practice competency before and after participated in teaching-learning arrangement in primary health care practicum course was significantly different at .05 level. The self-directed learning for clinical reasoning developmenet: a case study of primary health care practicum course to primary health care practice competency in nursing students should be applied for using in further teaching and learning courses. |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1240 |
Appears in Collections: | Nursing - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Jariya-Subrueng.pdf | 1.33 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.