Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/135
Title: การศึกษาการละลายของแมงจิเฟอรินในตัวทำละลายร่วม
Other Titles: The Study of Dissolution of Mangiferin in Cosolvent Systems
Authors: ปวีณา ว่องตระกูล
สุนี ชาญณรงค์
Paveena Wongtrakul
Sunee Channarong
ชนิกัณดา เทสสิริ
Chanikanda Tessiri
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences
Keywords: แมงจิเฟอริน
มะม่วง -- ใบ
สารต้านอนุมูลอิสระ
สารละลาย (เคมี)
Mangiferin
Antioxidants -- Analysis
Mango
Issue Date: 2021
Publisher: มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
Abstract: แมงจิเฟอรินเป็นโพลีฟีนอลของ ซี-ไกลโคซิลแซนโธน ที่มีค่าการละลายน้าต่า ในการศึกษานี้มีการสกัดสารแมงจิเฟอรินจากใบมะม่วงพันธุ์น้าดอกไม้ที่ปลูกในจังหวัดสมุทรปราการ ได้ผลผลิต ได้ร้อยละ 3.17 มีความบริสุทธิ์ร้อยละ 94.24 (วิเคราะห์ด้วย HPTLC) จากการหาค่าการละลายของ แมงจิเฟอรินในตัวทาละลายบริสุทธิ์ ได้ผลเรียงลาดับจากมากไปน้อย คือ อิท็อกซี่ไดไกลคอล ไดเมทิลไอโซซอร์ไบด์ โพลิเอทิลีนไกลคอล 400 โพลิเอทิลีนไกลคอล 600 โพรพิลีนไกลคอล ไดโพรพิลีน- ไกลคอล กลีเซอรีน ไอโซเพนทิลไดออล เมทานอล เอทานอลและน้า การผสมตัวทาละลายเหล่านี้ ในน้า สามารถเพิ่มค่าการละลายของแมงจิเฟอรินได้ แบบจาลองค่าการละลายแบบล็อก-เชิงเส้นของระบบตัวทาละลายร่วม ได้ถูกนามาใช้คานวณหา สัดส่วนโดยปริมาตรของตัวทาละลาย เพื่อใช้ละลายแมงจิเฟอรินที่มีความเข้มข้นสูงเป็น 20 เท่าของค่า IC50 ที่ต้านอนุมูล DPPH ตารับโทนเนอร์ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระประกอบด้วยสารสกัดแมงจิเฟอรินร้อยละ 0.5 โดยน้าหนัก และประกอบด้วย โพลีเอทิลีนไกลคอล 600 หรือไดโพรพิลีนไกลคอล ร้อยละ 40 โดยน้าหนักเพื่อทาหน้าที่เป็นสารช่วยละลาย ตารับที่เตรียมขึ้นถูกนามาประเมินค่าความเป็นกรด-ด่าง ค่าความหนืด ค่าการต้าน อนุมูลอิสระ และความคงตัว ผลการศึกษาพบว่าโทนเนอร์ทั้งสองตารับ มีความคงตัวดี มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระที่สูง และมีลักษณะทางกายภาพที่ดี เมื่อเก็บไว้นาน 8-16 สัปดาห์ ที่อุณหภูมิ 30±2 องศาเซลเซียส และ 45±2 องศาเซลเซียส
Mangiferin, a polyphenol of C-glycosylxanthone, it has poor aqueous solubility. In this study, the extract of mangiferin from the leaves of Nam Dok Mai mango planted in Samut Prakan. The extraction yield of mangiferin obtained from the leaves was 3.17% with 94.24% purity (HPTLC analysis). The solubility of mangiferin in the studied pure solvents arranging in descending order were ethoxydiglycol, dimethyl isosorbide, polyethylene glycol 400, polyethylene glycol 600, propylene glycol, dipropylene glycol, glycerin, isopentyldiol, methanol, ethanol and water. The addition of these solvents in water could increase the solubility of mangiferin. The log-linear solubility model for the cosolvent system was used to calculate the volume fractions of the selected solvents, which were needed to solubilize mangiferin content at the twenty times of the IC50 against DPPH radicals. Antioxidant toners contained 0.5% w/w of mangiferin and 40% w/w of polyethylene glycol 600 or dipropylene glycol as a solubilizer were formulated. The products were then evaluated for the pH, viscosity, antioxidant activity and stability. The results showed that both toner formulations exhibited good stability, retained high antioxidant activity and were physically stable for 8-16 weeks at 30±2 °C and 45±2 °C.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม) (วิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2564
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/135
Appears in Collections:Pharmaceutical Sciences - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
CHANIKANDA-TESSIRI.pdf
  Restricted Access
5.78 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.