Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/137
Title: | การปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการจัดซื้อในอุตสาหกรรมเครื่องกำเนิดไอน้ำโดยใช้แนวคิดไคเซ็นเพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองกับผู้จำหน่าย |
Other Titles: | Improving the Efficiency of Boiler Industry Purchasing Process by Using Keizen Concepts to Increase Bargaining Power with Suppliers |
Authors: | ชุติระ ระบอบ Chutira Rabob สุวิมล จีนบางช้าง Suvimon Jeenbangchang Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration |
Keywords: | การจัดซื้อ Purchasing การบริหารงานผลิต Production management เครื่องกำเนิดไฟฟ้า Electric generators การจัดหาจัดซื้อทางอุตสาหกรรม Industrial procurement อุตสาหกรรมเครื่องกำเนิดไฟฟ้า |
Issue Date: | 2021 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
Abstract: | การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการจัดซื้อในอุตสาหกรรมเครื่องกำเนิดไอน้ำ วิเคราะห์ปัญหากระบวนการจัดซื้อและนำแนวคิดไคเซ็นมาประยุกต์ใช้ปรับปรุงประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองกับผู้จำหน่าย กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ปฏิบัติงานจัดซื้อในอุตสาหกรรมเครื่องกำเนิดไอน้ำ จำนวน 43 คน โดยใช้การสัมภาษณ์และแบบสอบถาม สถิติที่ใช้คือการถดถอยเชิงพหุจากการศึกษาพบว่า กระบวนการจัดซื้อเริ่มตั้งแต่รับเอกสารใบขอซื้อจนถึงขั้นตอนการจัดส่งสินค้า ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ การจัดหาร้านค้าเพื่อเปรียบเทียบราคาไม่ทัน ความต้องการสินค้ามีน้อยทำให้ไม่สามารถต่อรองกับผู้จำหน่ายได้ รายละเอียดสินค้าที่ระบุในเอกสารไม่ครบถ้วน ผู้ขอซื้อไม่วางแผน การสั่งซื้อทำให้สั่งซื้อสินค้าเร่งด่วน ปัญหาจากผู้ขอซื้อระบุสินค้าไม่ครบ ไม่สามารถรวมความต้องการสินค้าจึงต้องเปิดขอซื้อสินค้านั้น ปัญหาจากผู้ขายไม่สามารถลดราคาได้เพราะสินค้ามีน้อย ผู้ขายมีหลายรายต้องเทียบราคาทุกครั้ง ไม่ยึดผู้ขายรายเดียว จึงแก้ไขปัญหาโดยการนำเทคนิคไคเซ็นมาจัดเรียงกระบวนการจัดซื้อใหม่และติดตามผล ผลการศึกษาเป็นประโยชน์อย่างมากต่ออุตสาหกรรมเครื่องกำเนิดไอน้ำ This study aimed to study the purchasing process in the steam generator industry, analyze the problems that can be a guideline for improving efficiency. Apply Kaizen concept to optimize the purchasing process to increase bargaining power with suppliers. The sample groups are 43 purchasing workers in generator industry using interviews and questionnaires. It is a tool for collecting information. By interviewing key informants and studying information from documents related the purchasing process multiple regression.The research result founded that the procurement process starts from the documents the final delivery. The problem occurs at the time of the purchase order. The quantity of product requirements is very low, which makes it impossible to negotiate with suppliers. The details specified in the document are inaccurate. In addition, buyers do not plan orders, resulting in frequent individual orders. In addition, they can't meet the quantity of demand, which leads to their need to buy more products. The problem is that the seller can't lower the price because of the small quantity of products. Many suppliers. Before every order, there is no single supplier. Kaizen concept applied to the arrangement and follow-up of new procurement process. This research will help the water generator industry. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (กจ.ม.) (การจัดการอุตสาหกรรม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2564. |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/137 |
Appears in Collections: | Business Administration - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SUVIMON-JEENBANGCHANG.pdf Restricted Access | 1.75 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.