Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/141
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุติระ ระบอบ-
dc.contributor.advisorChutira Rabob-
dc.contributor.authorชณิศา มงคลไซ-
dc.contributor.authorChanisa Mongkhonchai-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.date.accessioned2022-04-24T08:14:25Z-
dc.date.available2022-04-24T08:14:25Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/141-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กจ.ม.) (การจัดการอุตสาหกรรม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2564.th
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบข้อมูลส่วนบุคคลที่มีผลต่อการลดความสูญเปล่าในการจัดการสินค้าคงคลังเครื่องสำอาง 2) ศึกษาลักษณะการจัดการสินค้าคงคลังเครื่องสำอาง 3) เพื่อวิเคราะห์ความสูญเปล่าในการจัดการสินค้าคงคลังเครื่องสำอาง และ 4) ศึกษาแนวทางการจัดการสินค้าคงคลังที่มีผลต่อความสูญเปล่าในการจัดการสินค้าคงคลัง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือผู้ประกอบการผลิตเครื่องสำอางขนาดเล็กในจังหวัดนนทบุรี จำนวน 157 ราย โดยใช้เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติ แจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน T-test F-test ความแตกต่างรายคู่ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05ผลวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง อายุระหว่าง 20-30 ปี โดยมีประสบการณ์การทำงานอยู่ในช่วง 1-3 ปี โดยแนวทางการจัดการความสูญเปล่า ในกรณีการกำจัดและการรวมกัน โดยรวมอยู่ระดับปฏิบัติดีมากและเหมาะสมในการจัดสรรพื้นที่ในการจัดเก็บสินค้าให้เกิดการใช้สอยสูงสุด โดยกรณี การจัดลำดับใหม่ พบว่า การจัดลำดับพื้นที่ในการจัดเก็บที่เหมาะสมต่อการทำงานและการจัดเก็บสามารถปรับปรุงกระบวนการเพื่อลดสินค้าภายในคลังสินค้าที่ได้th
dc.description.abstractThis research aimed to study on to compare personal information to reduce waste in cosmetic inventory management. Study the characteristics of cosmetic inventory management. To analyze wastes in cosmetic inventory management. Study methods of inventory management that affect wastes in inventory management. Samples used in the research Is a small cosmetic manufacturer in Nonthaburi province, total 157 people using questionnaires. Statistical distribution of frequency, percentage, mean, standard deviation, t- test, F-test, double difference. Coefficient at statistically significant .05.From the research results It was found that most of them were women between the ages of 20 and 30 years with working experience in the range of 1-3 years. It was found that the waste management approach in case of disposal and overall integration was at a very good level of practice and appropriate for the allocation of storage space for maximum utilization. By the case of reordering, It was found that ranking the appropriate storage space for work and storage can improve the process to reduce the inventory in the resulting warehouse.th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectการจัดการคลังสินค้าth
dc.subjectWarehouses -- Managementth
dc.subjectการควบคุมความสูญเปล่าth
dc.subjectLoss controlth
dc.subjectอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง -- ไทยth
dc.subjectCosmetics industry -- Thailandth
dc.titleการลดความสูญเปล่าในการจัดการสินค้าคงคลังเครื่องสำอาง โดยใช้หลักการ ECRSth
dc.title.alternativeWaste Reduction in Cosmetic Inventory Management by Using ECRS Principlesth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameการจัดการมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการจัดการอุตสาหกรรมth
Appears in Collections:Business Administration - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
CHANISA-MONGKHONCHAI.pdf1.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.