Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1494
Title: | อายุความในการใช้สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนในกรณีที่เจ้าหน้าที่ผู้กระทำละเมิดถึงแก่ความตายตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ |
Other Titles: | On the Prescription Regarding the Exercising of the Right to Claim for Compensation in the Case Where the Authority Committing Wrongful Act Decease according to the Authority's Liability Act B.E. 2539 |
Authors: | ศิรินทร์พร ธารมัติ Sirinporn Taramat Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Law |
Keywords: | พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 อายุความ Prescription (Law) กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ – ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด Compensation (Law) |
Issue Date: | 2015 |
Citation: | วารสารวิชาการคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 5,2, 2558 : 97-106 |
Abstract: | พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๐ วรรคสอง มิได้กล่าวถึงอายุความในการฟ้องคดีความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่กรณีที่เจ้าหน้าที่ผู้กระทำละเมิดถึงแก่ความตายเอาไว้ว่าผู้เสียหายจะต้องฟ้องกองมรดกหรือฟ้องทายาทของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้นภายในกำหนดอายุความตามกฎหมายฉบับใด ดังนั้นจึงต้องนำหลักกฎหมายในเรื่องอายุความมรดกในมาตรา ๑๗๕๔ วรรคสาม แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในฐานะกฎหมายใกล้เคียงมาปรับใช้ โดยหน่วยงานของรัฐต้องใช้สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากทายาทของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้นโดยการฟ้องขอให้ศาลพิพากษาหรือมีคำสั่งให้ทายาทของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้นชำระค่าสินไหมทดแทนภายใน ๑ ปีนับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐที่เสียหายได้รู้หรือควรรู้ถึงความตายของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้น ทั้งนี้ตามนัยมาตรา ๑๗๕๔ วรรคสาม แต่ทั้งนี้หากหน่วยงานของรัฐไม่รู้ว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้กระทำละเมิดถึงแก่ความตาย หน่วยงานของรัฐที่เสียหายก็ไม่อาจใช้สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากทายาทของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้กระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐเมื่อพ้นกำหนด ๑๐ ปีนับแต่วันที่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้กระทำละเมิดตายตามมาตรา ๑๗๕๔ วรรคท้ายได้ The Act of the Authority's Liability of Wrongful Act B.E. 2539 Section 10 Paragraph Two does not mention about the prescription on legal proceeding against the authority's liability on wrongful act in the case which the Authority committing wrongful act deceases in respect of the injured person would have to institute a legal proceeding on the estate or the heir of such an Authority within the prescription according to which law. Therefore, it's necessary to bring up the principle of law in respect of the prescription of the estate in Section 1754 Paragraph Three of the Civil & Commercial Procedure as a nearly law for application whereby the governmental public office must exercise the right to claim for the compensation from the heir of such a governmental authority by the institution of legal proceeding for the court of law to adjudge or give order to the heir of such a government authority to repay the compensation within 1 year from the date which the governmental public office perceiving or should have perceived about such a governmental authority's death, all this, according to the sense of Section 1754 Paragraph Three, but all this, if the governmental public office is not of knowledge that such an authority committing wrongful act deceases then in such a case the governmental public office is unable to exercise the right to claim for compensation from the heir of the governmental public office authority committing wrongful act against the public office after the period of 10 years is lapsed from the date which the governmental authority committing wrongful act decease as per Section 1754 in the Last Paragraph. |
Description: | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so01.tci-thaijo.org/index.php/lawhcu/article/view/157985/114403 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1494 |
ISSN: | 2286-6965 |
Appears in Collections: | Law - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Exercising-of-the-Right-to-Claim-for-Compensation.pdf | 84.9 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.