Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1558
Title: การพัฒนาตัวชี้วัดเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาสลิดสู่ผู้ประกอบการ 4.0
Other Titles: The Development of Snakeskin Gourami Farmer Indicators to Enterpreneur 4.0
Authors: ชุติระ ระบอบ
พรรณราย แสงวิเชียร
แววมยุรา คำสุข
มรกต กำแพงเพชร
ชรินพร งามกมล
บรรเจิดศักดิ์ สันหภักดี
ณภัทร ศรีนวล
กันต์ติกมาฐ รัตนปริญญานุกูล
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะบริหารธุรกิจ
Keywords: ปลาสลิด – การเลี้ยง
เกษตรกร
ผู้ประกอบการ
Trichogaster pectoralis
Snakeskin Gourami
Farmers
Businesspeople
Issue Date: 2018
Citation: วารสาร ธุรกิจปริทัศน์ 10, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2561) : 171-189
Abstract: การวิจัยนี้เพื่อสํารวจข้อมูลทั่วไป พัฒนาตัวชี้วัด และหาแนวทางพัฒนาผู้เลี้ยงปลาสลิด สู่ผู้ประกอบการ 4.0 ประชากร ได้แก่ ผู้เลี้ยงตามรายชื่อชมรมอนุรักษ์ปลาสลิดบางบ่อ สํานักงานประมง และผู้เลี้ยงทั่วไปในอําเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ รวม 30 ราย โดยใช้แบบสอบถาม สัมภาษณ์ สํารวจ สัมมนาและอภิปรายกลุ่ม ผลวิจัยสรุปดังนี้ กลุ่มตัวอย่างเพศหญิงมากกว่าชาย อายุ 51-60 ปี เหตุผลที่เลี้ยงคือ สืบทอดอาชีพบรรพบุรุษ ทํามาแล้วกว่า 30 ปี เงินลงทุนเบื้องต้น 150,000-200,000 บาท เลี้ยงในที่ดินของตน/ครอบครัว ที่เหลือเช่า เป็นธุรกิจครอบครัว ใช้แรงงานภายในและภายนอก ปัญหาสําคัญคือ คุณภาพน้ํา และเพาะพันธุ์ลูกปลา ผลวิเคราะห์ ตัวชี้วัดมี 7 ด้าน ได้แก่ ความรู้ในเรื่องที่ทําอยู่ มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจ มีการบริหารจัดการผลผลิตและตลาด ตระหนักถึงคุณภาพของสินค้าและความปลอดภัยของ ผู้บริโภค รับผิดชอบต่อสังคม ภูมิใจในความเป็นผู้เลี้ยงปลาสลิด และเครือข่าย รวม 28 ตัวชี้วัด พบว่า ไม่มีเกษตรกรระดับ 4.0 ทุกด้าน แต่สามารถพัฒนาจาก 3.0 เป็น 4.0 จํานวน 5 ราย และ 2.0 เป็น 3.0 จํานวน 10 ราย
This research aims to development of Snakeskin Gourami farmer to Entrepreneur 4.0 Indicators and to find guideline for enhance farmer to higher level of indicator. Target group come from 30 snakeskin gourami farmers in the list of snakeskin gourami Bangbo District Association, provincial fisheries office, and others. The data collection from questionnaire, interview, observation, seminar and focus group. Almost farmer were female, age between 51-60, to follow traditional ancestral career more than 30 years. The initiative finance 150,000-200,000 baht, have their own land/family and others were tenant. They career commitment to be snakeskin gourami farmers according to their ancestors. The main problems in their fishing were water quality and breeding fish. Research results found that the indicators comprise of 7 factors such as knowledge in career, decision information, market and production management, quality and consumer safety of goods awareness, social responsibility, proud of snakeskin gourami farmers and networks were 28 indicators. After that classified each farmer into level from 0.1-0.4. There have not farmer to be 4.0 in every indicators but it can develop four farmers upgrade from 5 entrepreneurs 3.0 up to 4.0 and 10 entrepreneurs 2.0 up to 3.0.
Description: สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/145062/107204
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1558
Appears in Collections:Business Administration - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Development-of-Snakeskin-Gourami-Farmer-Indicators.pdf89.34 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.