Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1566
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorแววมยุรา คำสุข-
dc.contributor.authorปรียา เตียงธวัช-
dc.contributor.authorกาญจนา ทวินันท์-
dc.contributor.authorมนตรี ธรรมพัฒนากูล-
dc.contributor.authorสัญญา ยิ้มศิริ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะบริหารธุรกิจth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะบริหารธุรกิจ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะบริหารธุรกิจ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะบริหารธุรกิจ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะบริหารธุรกิจ-
dc.date.accessioned2024-01-03T13:46:38Z-
dc.date.available2024-01-03T13:46:38Z-
dc.date.issued2017-
dc.identifier.citationวารสาร ธุรกิจปริทัศน์ 9,1 (มกราคม-มิถุนายน 2560) : 125-142th
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1566-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/120878/92230-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานขององค์การผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย จำนวน 343 คน สถิติที่ใช้คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานขององค์การผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์สูงสุดคือการจัดการโซ่อุปทาน (ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.08) ความสามารถด้านนวัตกรรม (ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.05)และองค์การแห่งการเรียนรู้ (ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.98) ตามลำดับที่ระดับนัยสำคัญ .05 และระดับความสัมพันธ์ของปัจจัยสามารถอธิบายความผันแปรของผลการดำเนินงานขององค์การผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้ ร้อยละ 53.6th
dc.description.abstractThe research purpose was studied factor that affect to Organization Performance of Thai Auto Parts Industry. Research was quantitative research and questionnaires were constructed to be a tool to measure concept definition and data were collected from 343 people. The data was analyzed by multiple regression analysis. The study found that factors high positively affecting to Organization Performance of Thai Auto Parts Industry were Supply Chain management (X–= 4.08) Innovation Capability (X–= 4.05) and Learning Organization (X–= 3.98), the significance level .05. The relationship of factors could explain the variation of customer satisfaction to 53.6 percent (R2 = .536).th
dc.language.isothth
dc.subjectอุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์th
dc.subjectAutomobile supplies industryth
dc.subjectการบริหารธุรกิจth
dc.subjectBusiness administrationth
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์th
dc.subjectBusiness logisticsth
dc.subjectการเรียนรู้องค์การth
dc.subjectOrganizational learningth
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้th
dc.subjectKnowledge managementth
dc.subjectความสำเร็จทางธุรกิจth
dc.subjectSuccess in businessth
dc.titleการจัดการโซ่อุปทาน ความสามารถด้านนวัตกรรม และองค์การแห่งการเรียนรู้ ที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานขององค์การผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทยth
dc.title.alternativeSupply Chain Management, Innovation Capability and Learning Organization Affecting Organization Performance of Thai Auto Parts Industryth
dc.typeArticleth
Appears in Collections:Business Administration - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supply-Chain-Management.pdf84.01 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.