Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1567
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศิริวุฒิ รุ่งเรือง-
dc.contributor.authorSiriwut Rungruang-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administrationth
dc.date.accessioned2024-01-03T13:51:42Z-
dc.date.available2024-01-03T13:51:42Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.citationวารสาร ธุรกิจปริทัศน์ 8, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559) : 183-197th
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1567-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/125598/95118-
dc.description.abstractในปัจจุบันแต่ละทวีปทั่วภูมิภาคได้มีการจัดตั้งความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศและมีการทำการค้าเสรีระหว่างภายในภูมิภาคมากยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น การบูรณาการทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคของทวีปยุโรป (European Union) ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มในระดับภูมิภาคของประเทศต่างๆในทวีปยุโรป ในขณะที่ประเทศในกลุ่มของภูมิภาคทวีปอเมริกาเหนือได้มีการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ซึ่งรู้จักกันในนามของ ข้อตกลงการค้าเสรีของอเมริกาเหนือ (NAFTA) และเมื่อไม่นานมานี้ประเทศกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้มีการรวมกลุ่มระดับประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) เป็นต้น จากการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจดังกล่าวทำให้บทบาททางด้านการเจรจาธุรกิจระหว่างประเทศมีบทบาทมากยิ่งขึ้น ซึ่งบทบาทด้านการเจรจาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจ และทำให้ธุรกิจได้มีการขยายตัวไปสู่ระดับสากลมากยิ่งขึ้น แต่เนื่องจากแต่ละภูมิภาคมีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของตน จึงทำให้ผู้บริหารในระดับสากลต้องให้ความสนใจในความแตกต่างทางวัฒนธรรมเมื่อต้องเข้าไปอยู่ในสถานการณ์การเจรจา ซึ่งบทบาทของการเจรจาทางธุรกิจเป็นการติดต่อสื่อสารทางธุรกิจที่ถูกปลูกฝังในด้านของ วัฒนธรรมภาษา ความเชื่อและแนวคิด ซึ่งด้านของภาษาพูด ภาษาท่าทางและแนวความคิดทางวัฒนธรรมกับการเจรจาในสังคมหนึ่งจะมีความหมายและบริบทที่แตกต่างไปจากอีกสังคมหนึ่งทำให้เกิดการสื่อสารที่ไม่เข้าใจกันและเกิดความขัดแย้งกับคู่เจรจาอีกฝ่าย ดังนั้นการเจรจาธุรกิจระหว่างประเทศนั้นจำเป็นต้องมีการเข้าใจในความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างการเจรจาซึ่งจะทำให้ประสบผลสำเร็จในการเจรจาธุรกิจระหว่างประเทศth
dc.description.abstractEconomic integration has continuously been developed in every region. It begins with the development of free trade area into larger forms of the integration and becomes as economic union. There are several notable economic clusters in the world; for instance, European Union which is the significant regional trading bloc in Europe, Another important of regional economic integration is NAFTA - a prominent one in North America, and ASEAN which is known as a new born of economic integration in Southeast Asia. This circumstance leads to the significant role of International business negotiation context. Hence, the business negotiation is a vital tool for creating good relationship and expanding business internationally. Unfortunate the each of countries have a cultural symbol. Therefore, global managers should be aware of cultural differentiation when they are playing negotiator role. Business negotiation is the business communication embedded with divergent cultures, languages, beliefs, and concepts. The verbal and nonverbal communication and cultural negotiation concept in one society could be interpreted dissimilarly in another and finally create misunderstanding and conflict with partner. Consequently, The global manager should be understanding of cultural differentiation for making relationship business partner and get successfully in the role of international business negotiation.th
dc.language.isothth
dc.subjectการเจรจาต่อรองทางธุรกิจth
dc.subjectNegotiation in businessth
dc.subjectการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมth
dc.subjectIntercultural communicationth
dc.titleวัฒนธรรม: หนึ่งในกุญแจสำคัญของการเจรจาธุรกิจระหว่างประเทศth
dc.title.alternativeCulture: A Key Success Factor For International Business Negotiationth
dc.typeArticleth
Appears in Collections:Business Administration - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Culture-International-Business-Negotiation.pdf76.55 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.