Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1593
Title: | การพัฒนารูปแบบการสอนโดยใช้ทฤษฎีมุ่งปฏิบัติงานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการเขียนเรียงความสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 2 |
Other Titles: | The Development of Instructional Model Using Task-Based Learning and Social Media for Enhancing Essay Writing Skills for Secondary School Students in Grade 8 |
Authors: | ธัชวิน ยศเฉลิมวงศ์ ณิชาพัฒน์ ไชยแสนบดินทร์ วนิสา สัมภวะผล กฤติกา ชูผล สุมนา เขียนนิล ชุติมา ขุนแสง Touchwin Yoschalermwong Nichaphat Chaisenbodin Wanisa Sumpavapol Krittika Choophol Sumana Kheannil Chutima Khunsang Kasetsart University. Faculty of Education Chiang Rai Rajabhat University. Faculty of Education Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts Dhonburi Rajabhat University. Faculty of Humanities and Social Sciences Suan Sunandha Rajabhat University. Faculty of Education Ramkhamhaeng University. Faculty of Education |
Keywords: | การแต่งความเรียง -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) Essay -- Study and teaching (Secondary) สื่อสังคมออนไลน์ Social media |
Issue Date: | 2022 |
Citation: | วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 17,1 (มกราคม-มิถุนายน 2565) : 47-61 |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการสอนโดยใช้ทฤษฎีมุ่งปฏิบัติงานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ 2) เพื่อหาประสิทธิผลของรูปแบบการสอนโดยใช้ทฤษฎีมุ่งปฏิบัติงานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ 2.1 เปรียบเทียบความสามารถด้านการเขียนเรียงความก่อนและหลังใช้รูปแบบการสอน 2.2 ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการสอน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 2 โรงเรียนแห่งสาธิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา จำนวน 36 คน ซึ่งได้มาด้วยการสุ่มแบบกลุ่ม (cluster random sampling) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สถิติทดสอบค่าทีแบบ t-test dependent และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) จากข้อมูลการสังเกตการสอน ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการสอนที่พัฒนามีองค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการของรูปแบบการสอน 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบการสอน 3) กระบวนการสอน 4) การวัดและประเมินผลของรูปแบบการสอนและ 5) ปัจจัยสนับสนุนการสอน มีขั้นตอนการสอน 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นกระตุ้นความรู้เดิม 2) ขั้นเพิ่มความรู้ใหม่ 3) ขั้นสร้างความเข้าใจ 4) ขั้นปฏิบัติภาระงาน และ 5) ขั้นประเมินผลชิ้นงาน 2. ประสิทธิผลของรูปแบบการสอนโดยใช้ทฤษฎีมุ่งปฏิบัติงานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ 2.1 นักเรียนมีความสามารถด้านการเขียนเรียงความหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2 นักเรียนมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการสอนอยู่ในระดับมากที่สุด This research was aimed to 1) develop instructional model using task-based learning and social media, 2) study the effectiveness of instructional model 2.1 compare the essay writing skills before and after using the instructional method, and 2.2 study the student satisfaction towards the instructional method. The sample group of this study was 36 secondary school students in Grade 8 of Kasetsart University Laboratory School, Center for Educational Research and Development, by using cluster random sampling. The observational data on instruction was analyzed by using descriptive statistics; t-test dependent and content analysis. The findings revealed that; 1. The developed instructional method comprised of; 1) principles, 2) objectives, 3) teaching process, 4) measurement and evaluation of teaching, and 5) teaching support factors. The teaching process comprised of; 1) encouraging the knowledge, 2) enhancing the new knowledge, 3) building the understanding, 4) conducting the teaching, and 5) evaluating the teaching. 2. The effectiveness of the instructional model is reflected in the following: 2.1 After using the instructional method, the essay writing skills of students were higher than before at the 0.05 level of significance. 2.2 The student satisfaction towards the teaching method was at the highest level. |
Description: | เข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/larhcu/article/view/255071/175468 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1593 |
Appears in Collections: | Liberal Arts - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Task-Based-Learning-and-Social-Media.pdf | 87.36 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.