Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1685
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกรุณา ประมูลสินทรัพย์-
dc.contributor.authorกมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม-
dc.contributor.authorจริยาวัตร คมพยัคฆ์-
dc.contributor.authorเอกชัย โควาวิสารัช-
dc.contributor.authorKaruna Pramoolsinsup-
dc.contributor.authorKamonthip Khungtumneum-
dc.contributor.authorJariyawat Kompayak-
dc.contributor.authorEkachai Kovavisarach-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingth
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingth
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingth
dc.contributor.otherRajavithi Hospital. Department of Obstetrics and Gynecologyth
dc.date.accessioned2024-01-29T06:20:43Z-
dc.date.available2024-01-29T06:20:43Z-
dc.date.issued2013-
dc.identifier.citationวารสารสมาคมพยาบาลฯ สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 31,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2556) : 54-60th
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1685-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jnat-ned/article/view/16889/17208-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ชนิดสองกลุ่มวัดก่อนและหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นครรภ์แรก โดยใช้แนวคิดรูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ (2006) กลุ่มตัวอย่าง คือหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นครรภ์แรกจำนวน 40 ราย คัดเลือกอย่างเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนดแล้วแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ในจำนวนที่เท่ากันคือ กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ ส่วนกลุ่มควบคุม ได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพที่ประกอบด้วย แผนการสอนกลุ่มย่อย แผนการสอนรายบุคคลและครอบครัว คู่มือส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น ตัวแบบด้านบวก และแผ่นซีดีเสียงสำหรับฝึกปฏิบัติการคลายเครียดของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นครรภ์แรก และได้รับการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน และตรวจสอบหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือ ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ 0.92 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติทดสอบค่าที (t – test statistic) ผลการวิจัยพบว่า 1) พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นครรภ์แรก หลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p - value < .001 2) พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นครรภ์แรกที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติเพียงอย่างเดียวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p - value < .05th
dc.language.isothth
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพth
dc.subjectHealth promotionth
dc.subjectวัยรุ่นหญิง -- พฤติกรรมทางเพศth
dc.subjectTeenage girls -- Sexual behaviorth
dc.subjectการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นth
dc.subjectTeenage pregnancyth
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นครรภ์แรกth
dc.title.alternativeThe Effect of Health Promotion Program on Health Promoting Behavior Primigravida Adolescentsth
dc.typeArticleth
Appears in Collections:Nursing - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Health-Promoting-Behavior-Primigravida .pdf93.13 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.