Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1914
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัตน์ ทองรอด-
dc.contributor.advisorWirat Tongrod-
dc.contributor.authorกัญจน์มิตา ทิพย์ภูวธนนท์-
dc.contributor.authorKanmita Thippoowathanon-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.date.accessioned2024-03-18T14:51:06Z-
dc.date.available2024-03-18T14:51:06Z-
dc.date.issued2008-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1914-
dc.descriptionการศึกษาอิสระ (บธ.ม.) (บริหารธุรกิจ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2551th
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยของความเครียดในการทำงานที่ส่งผลต่อระดับความเครียดและการปฏิบัติงานของพนักงานในบริษัทที่บริหารงานโดยชาวญี่ปุ่น ชาวไทย ชาวสหรัฐอเมริกา และเพื่อศึกษาปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อระดับความเครียดของพนักงานโดยมีตัวแปรที่ศึกษา ประกอบด้วยตัวแปรอิสระ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยของความเครียด ตัวแปรตามได้แก่ ระดับความเครียด ผลการปฏิบัติงานสำหรับระเบียบวิธีวิจัยใช้การศึกษาเชิงสำรวจ (Survey Research) สุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Sampling) กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานที่ปฏิบัติงานในบริษัทที่มีผู้บริหารเป็นชาวไทย ชาวญี่ปุ่น และชาวสหรัฐอเมริการ ในกลุ่มธุรกิจยานยนต์ จำนวน 300 ตัวอย่าง ใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียดในการปฏิบัติงานของกลุ่มตัวอย่าง พนักงานบริษัทในกลุ่มธุรกิจยานยนต์ อยู่ในระดับปานกลาง ด้านที่ทำให้เกิดความเครียดในการทำงานในระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน รองลงมา ได้แก่ ด้านลักษณะงาน และด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน ตามลำดับ และมีความเครียดในการปฏิบัติงานในระดับปานกลาง โดยพบว่าปัจจัยที่มีความเครียด อยู่ในระดับมาก ได้แก่ เงินไม่พอใช้จ่าย ส่วนปัจจัยที่มีความเครียด อยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ กลัวทำงานผิดพลาด รองลงมา คือ ไปไม่ถึงเป้าหมายที่วางไว้ ครอบครัวมีความขัดแย้งกันในเรื่องเงินหรือ เรื่องงานในบ้าน รู้สึกว่าต้องแข่งขันหรือเปรียบเทียบ ปวดหัวจากการตึงเครียด ตามลำดับ ส่วนที่มีความเครียดอยู่ในระดับน้อย ได้แก่ เป็นหวัดบ่อยๆ รองลงมา ได้แก่ รู้สึกเศร้า ความอยากอาหารเปลี่ยนแปลง รู้สึกเหนื่อยง่าย ตั้งสมาธิลำบาก รู้สึกสับสน ตามลำดับ และผลการปฏิบัติงานของกลุ่มตัวอย่างพนักงานบริษัทในกลุ่มธุรกิจยานยนต์โดยรวม อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก โดยพบว่า ด้านที่มีผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับพึงพอใจมาก ได้แก่ ด้านผลงาน รองลงมา ได้แก่ ด้านพฤติกรรม/คุณลักษณะในการปฏิบัติงาน และผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า พนักงานที่ปฏิบัติงานในบริษัทที่บริหารงานโดยชาวไทย ชาวญี่ปุ่น และชาวสหรัฐอเมริกา มีระดับความเครียดในการทำงานไม่แตกต่างกัน และปัจจัยของความเครียดในการทำงาน ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของพนักงาน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติth
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectความเครียดในการทำงานth
dc.subjectJob stressth
dc.subjectความเครียด (จิตวิทยา)th
dc.subjectStress (Psychology)th
dc.subjectจิตวิทยาอุตสาหกรรมth
dc.subjectPsychology, Industrialth
dc.titleความสัมพันธ์ปัจจัยก่อความเครียด ความเครียดและผลการปฏิบัติงานของพนักงานในบริษัทยานยนต์ที่มีผู้บริหาร ชาวไทย ชาวญี่ปุ่นและชาวสหรัฐอเมริกาth
dc.title.alternativeThe Relation of the Stress Factors, the Stress and the Working Performance of Employees in Automotive Companies with Thai, Japanese and American Executivesth
dc.typeIndependent Studiesth
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineบริหารธุรกิจth
Appears in Collections:Business Administration - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanmita-Thippuwatanont.pdf
  Restricted Access
24.24 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.