Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1918
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิษณุ วรรณกูล | - |
dc.contributor.advisor | Pitsanu Wannakul | - |
dc.contributor.author | กวีวัฒน์ ภูมิพันธุ์ | - |
dc.contributor.author | Kaweewat Pumipuntu | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration | - |
dc.date.accessioned | 2024-03-19T04:33:34Z | - |
dc.date.available | 2024-03-19T04:33:34Z | - |
dc.date.issued | 2008 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1918 | - |
dc.description | การศึกษาอิสระ (บธ. ม.) (การจัดการอุตสาหกรรม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2551. | th |
dc.description.abstract | การศึกษาเรื่อง “ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุในโรงงานของพนักงานบริษัท อาซีฟา จำกัด” มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาสาเหตุที่มีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุของพนักงานบริษัท อาซีฟา จำกัด 3 ด้าน คือ ด้านการบริหารจัดการความปลอดภัย ด้านการปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัย และด้านสภาพของงานที่ไม่ปลอดภัย เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุ จำแนกตามเพศ อายุ ระดับ การศึกษา ลักษณะการปฏิบัติงานตามสายงาน ประสบการณ์การทำงาน การได้รับการฝึกอบรมด้านความปลอดภัย งานที่ระบบป้องกันอุบัติเหตุ การสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลการปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยและบทลงโทษด้านความปลอดภัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย เป็นพนักงานของบริษัท อาซีฟา จำกัด จำนวน 267 คน โดยใช้เครื่องมือแบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย (x) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่า f-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One way ANOVA ผลการศึกษา พบว่า ด้านการบริหารจัดการความปลอดภัย ด้านการปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัยและด้านสภาพของงานที่ไม่ปลอดภัย ในภาพรวมพนักงานส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าอยู่ในระดับพอใช้ ยกเว้นนโยบายความปลอดภัย บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยและเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย กฎระเบียบและมาตรฐานความปลอดภัย และการให้ความสำคัญต่อความปลอดภัยและอุบัติเหตุของหน่วยงานเท่านั้นที่อยู่ในระดับปานกลาง และจากผลการทดสอบสมมติฐานพนักงานที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา ลักษณะการปฏิบัติงานตามสายงาน ประสบการณ์การทำงาน การได้รับการฝึกอบรมด้านความปลอดภัย และการได้รับการตักเตือนหรือการลงโทษแตกต่างกัน มีปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | th |
dc.rights | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | th |
dc.subject | อุบัติเหตุในงานอุตสาหกรรม | th |
dc.subject | Industrial accidents | th |
dc.subject | ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม | th |
dc.subject | Industrial safety | th |
dc.subject | อาชีวอนามัย | th |
dc.subject | Industrial hygiene | th |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุของพนักงานในโรงงาน : กรณีศึกษา บริษัท อาซีฟา จำกัด | th |
dc.title.alternative | The Factors Effecting the Employee's Accidents from Work : A Case Study of Asefa Co., Ltd. | th |
dc.type | Independent Studies | th |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th |
dc.degree.discipline | การจัดการอุตสาหกรรม | th |
Appears in Collections: | Business Administration - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kaweewat-Pummipan.pdf Restricted Access | 15.84 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.