Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1946
Title: ความชุกของพยาธิใบไม้ปอดระยะติดต่อ (metacercaria) ในปูนา ในตลาดสด เขตอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
Other Titles: Paragonimus Metacercaria Prevalence in Freshwater Crabs in the Markets in Bang Phlidistrict, Samut Prakan Province, Thailand
Authors: เพ็ญนภา ชมะวิต
ภาณุพงศ์ สหายสุข
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเทคนิคการแพทย์
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเทคนิคการแพทย์
Keywords: ปูนา
Ricefield crabs
ปูน้ำจืด
Fresh water crabs
พยาธิใบไม้ปอด
Paragonimiasis
พยาธิตัวอ่อนระยะติดต่อ
Metacercaria
Issue Date: 2012
Citation: วารสารวิชาการสาธารณสุช 21, 2 (มีนาคม-เมษายน 2555) : 296-301
Abstract: ปูน้ำจืคเป็นโฮสค์กึ่งกลางที่ 2 ของตัวอ่อนพยาธิไบไม้ปอดระยะติดต่อ (metacercaria) การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเบื้องด้นของความชุกของตัวอ่อนพยาธิไบไม้ปอคระยะติคต่อ ในปูนาจำนวน 100 ตัว ที่ซื้อจากตลาดสด พื้นที่อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ผลการศึกษาพบตัวอ่อนระยะติดต่อ ในปูนา ร้อยละ 91 เมื่อดูความชุกของตัวอ่อนพยาธิในปูนาเพศผู้และเพศเมืย พบว่าเพศผู้มีตัวอ่อนระยะติดต่อร้อยละ 94.2 จากจำนวนปูเพศผู้ทั้งหมด 35 ตัว และเพศเมียร้อยละ 89.2 จากจำนวนปูเพศเมียทั้งหมด 65 ตัว และค่าเฉลี่ยจำนวนตัวอ่อนพยาธิระหว่างปูนาเพศผู้และเพศเมียแต่ละตัวพบว่ามีตัวอ่อนระยะติดต่อ 35 และ 23 ตัว ตามลำตับ จำนวนตัวอ่อนระยะติดต่อ (metacercaria) ที่พบในปูเพศผู้/เพศเมีย พบว่ามีความแดกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (chi- square, P < 0.05) การศึกษาหาความชุกของตัวอ่อนพยาธิไบไม้ปอดในปูนาครั้งนี้ไช้วิธีการดกตะกอน หลังจากการปั่นละเอียดด้วยเครื่องปั่นไฟฟ้าแล้วนำไปกรอง และจำแนกตัวอ่อนพยาธิดามลักษณะสัณฐาน พบว่าตัวอ่อนระยะติดต่อนี้เป็น Paragonimus siamensis ซึ่งเป็นพยาธิไบไม้ปอดที่เป็นของสัตวั ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรคพยาธิไบไม้นอกปอด (Ectopic paragonimiasis) ในคนได้ คังนั้นคณะผู้วิจัยจึงเห็นว่าการศึกษาความชุกของตัวอ่อนพยาธิไบไม้ปอดของปูนาในครั้งนี้น่าจะเป็นประโยชน์ในการศึกษาทางระบาดวิทยาและอาจจำแนกหาชนิคตัวอ่อนระยะติดต่อ (metacercaria) โดยวิธี polymerase chain reaction ต่อไป
Fresh water crabs are the second intermediate host of Paragonimus metacercaria. The objec-tive of this cross-sectional survey was to study the prevalence of Paragonimus metacercaria in 100crabs in the markets at Bang Phli district, Samut Prakan province, Thailand. Ninety-one percent ofParagonimus metacercaria were found in the samples. Proportion of metacercaria found in maleand female crabs were 94.2 percent of the 35 male crabs and 89.2 percent of the 65 female crabs. Onaverage, a male crab contained 35 metacercaria in an infective stage while a female crab harboured23. The number of metacercaria found in male and female crabs were significantly different (p<0.05)by chi-square test. The simple sedimentation method (after grinding by blender) was used for detec-tion of metacercaria in fresh water crabs. Based on the morphology classification of metacercaria,only Paragonimus siamensis was found in this study which might be the cause of ectopic paragon-imiasis in human. Therefore the researchers believe that the prevalence of metacercaria in freshwater crabs should lead to a study on infective stage Paragonimus metacercaria epidemiology, byusing polymerase chain reaction to confirm the genus and species.
Description: สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://thaidj.org/index.php/JHS/article/view/1067/964
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1946
ISSN: 3027-7396 (Print)
3027-740X (Online)
Appears in Collections:Medical Technology - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Paragonimus-Metacercaria-Prevalence.pdf84.84 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.