Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1947
Title: | การเปรียบเทียบการตรวจหาแอนติบอดีต่อเชื้อ เลปโตสไปรา ด้วยวิธี Immunoperoxidase (IIP) และวิธี Immunofluorescence (IFA) เพื่อการ ตรวจวินิจฉัยโรคเลปโตสไปโรชิส |
Other Titles: | Comparison of Antibody Detection between Immunoperoxidase (IIP) and Immunofluorescence (IFA) for Diagnosis of Leptospirosis |
Authors: | ศราวุธ สุทธิรัตน์ ทวีพร พันธุ์พาณิชย์ นิรุต รถขุนทด บุญนิภา สุวรรณกาล สุรศักดิ์ หมื่นพล Sarawut Suttirat Taweebhorn Panpanich Nirut Rodkhunthod Boonnipa Suwannakan Surasak Muenphon Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology Reginal MedicalSciences Center Udon Thani Reginal MedicalSciences Center Udon Thani |
Keywords: | เลปโตสไปรา Leptospira อิมมูโนฟลูออเรสเซนซ์ Immunofluorescence อิมมูโนเพอร์ออกซิเดส Immunoperoxidase เลปโตสไปโรซิส Leptospirosis แอนติบอดีย์ Immunoglobulins |
Issue Date: | 2009 |
Citation: | วารสารวิชาการสาธารณสุข 18,3 (พฤษภาคม-มิถุนายน 2552) : 455-461 |
Abstract: | การเปรียบเทียบการตรวจหาแอนดิบอดีต่อเชื้อเลปโตสไปราด้วยวิธีอิมมูโนฟลูออเรสเซนต์ (IF:A) กับวิธีอิมมูโนเพอร์ออกซิเคส (IIP) จากตัวอย่างซีรัมที่ได้จากผู้ป่วยเลปโดสไปโรซิส 27 ตัวอย่าง ตัวอย่างซีรัมควบคุมผลลบ 43 ตัวอย่าง จำแนกเป็นผู้มีสุขภาพดี 10 ตัวอย่าง ผู้ที่อยู่ในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค 20 ตัวอย่าง และผู้ป่วยด้วยโรคอื่น ๆ 13 ตัวอย่าง พบว่าทั้งสองวิธีสอดคล้องกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (K = 0.97, P <0.05) เมื่อเปรียบเทียบผลการทดสอบระหว่างสองวิธีในกลุ่มตัวอย่างผลบวก พบว่าวิธี IIP ให้ผลบวกในระดับไดเตอร์สูงกว่าวิธี IFA ร้อยละ 57.2 (16/28) ในระดับเท่ากัน ร้อยละ 32.1 (9/28) และให้ผลบวกในระดับต่ำกว่า IFA ร้อขละ 10.7 (3/28) โดยมีผลบวกปลอม 2 ตัวอย่าง จากตัวอย่างผู้ป่วยโรคชิฟิลิส และผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่การระบาค อย่างไรก็ตาม การศึกนำร่องนี้เพียงแต่แสดงถึงความเป็นไปได้ที่จะนำวิธีอิมมูโนเพอร์ออกซิเดสมาใช้แทนวิธีอิมมูโนฟลูออเรสเซนต์ เพราะมีข้อดีเหนือกว่าคือใช้กล้องจุลทรรศน์ธรรมดาในการอ่านผลและการประยุกด์ใช้ไนภาคสนาม ทั้งนี้ต้องเพิ่มจำนวนกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา จึงจะสรุปประสิทธิภาพของวิธี IIP ในการตรวจวินิจฉัยโรคเลปโดสไปโรซิสได้ A comparison of leptospiral antibody detection between IIP and IFA was performed on samples of serum collected from 27 leptospirosis patients and 43 negative controls consisting of 10 healthy controls, 20 individuals in endemic areas and 13 non-leptospirosis. The agreement rate when two methods were compared, was 0.97 by Kappa analysis and indicated a very good agreement. Antibody titer of positive samples resulting from IIP and IFA were compared. IIP gave more titer than IFA in 16 from 28 (57.2%), equivalent titer in 9 from 28 (32.1%) and less titer than IFA in 3 from 28 (10.7%). False positive was found in two samples, one sample of VDRL and TPHA positive case and another from individual in endemic area. This preliminary study showed that IIP might be an alternative method to IFA for antibody detection. The benefit of IIP over IFA was light microscope used and its possible application for field trial study. However, more sera should be tested before its effectiveness for serodiagnosis of leptospirosis can be concluded. |
Description: | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://thaidj.org/index.php/JHS/article/view/1769/1646 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1947 |
ISSN: | 3027-7396 (Print) 3027-740X (Online) |
Appears in Collections: | Medical Technology - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Leptospirosis.pdf | 85.99 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.