Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1948
Title: | การพัฒนาวิธี Dot-ELISA สำหรับตรวจวินิจฉัยโรคเลปโตสไปโรสิส |
Other Titles: | Development of Dot-ELISA for Diagnosis of Leptospirosis |
Authors: | ศราวุธ สุทธิรัตน์ วันเพ็ญ น้อยอุท้ย วิมลรัตน์ ไตรรัตนภักดี วัชระ หมันเหตุ ศันสนีย์ ตันติ์จธัม Sarawut Suttirat Wanpen Noiutai Wimonrat Trirattanapakdee Watchara Manhet Sansanee Tanjatham Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology Regional Medical Science Center Phitsanulok |
Keywords: | เอนไซม์ลิงค์อิมมูโนซอร์เบนท์แอสเส Enzyme-linked immunosorbent assay เลปโตสไปโรซิส Leptospirosis เลปโตสไปรา Leptospira |
Issue Date: | 2006 |
Citation: | วารสารวิชาการสาธารณสุช 15,2 (มีนาคม-เมษายน 2549) : 225-23 |
Abstract: | การศึกษานี้เป็นการพัฒนาวิธี Dot-ELISA สำหรับตรวจหาแอนติบอดีต่อเชื้อเลปโตสไปราในระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึงพฤษภาคม ๒๕๔๘ เพื่อนำไปใช้ตรวจคัดกรองผู้ป่วยในภาคสนาม ผลการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมโดยวิธีดังกล่าวพบว่า ใช้ปริมาณแอนติเจนจากเชื้อ Leptospira interrogans serovar bratislavar และ autumnalis ที่ระดับความเข้มข้น ๑.๗๕ ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ป้องกันการจับของสารไม่พึงประสงค์ด้วย ๕% BSA ใช้ซีรั่มทดสอบที่เจือจาง ๑:๘๐ และความเข้มข้นของ goat anti-human IgG peroxidase conjugate ที่เจือจาง ๑:๑,๕๐๐ โดยทุกขั้นตอนจะล้างด้วย PBS-tween ๓ ครั้ง และบ่มที่อุณหภูมิห้อง เมื่อเปรียบเทียบผลการตรวจทดสอบในซีรั่ม ๕๘ ตัวอย่าง ที่ตรวจโดยวิธี MAT ซึ่งเป็นวิธีมาตรฐาน พบว่าวิธี Dot-ELISA มีความไว ความจำเพาะ ค่าทำนายผลบวก ค่าทำนายผลลบ และความถูกต้องเป็นร้อยละ ๕๒.๙, ๖๓.๔, ๓๗.๕, ๗๖.๕ และ ๖๐.๓ ตามลำดับ โดยไม่เกิดปฏิกิริยาข้ามกลุ่มกับโรคซิฟิลิส โรคไข้หวัดนกและโรคสครับไทฟัส การศึกษานี้เป็นเพียงการศึกษาเบื้องต้น ยังจะต้องพัฒนาวิธีการและเพิ่มจำนวนตัวอย่าง ทดสอบให้มากขึ้นเพื่อให้ได้วิธีทดสอบที่เหมาะสมต่อไป Dot-ELISA method for detection of leptospiral antibody was developed for screening in field trial during February-May, 2005. The optimized conditions were consisting of using pools of Leptospira interrogans serovar bratislavar and autumnalis antigens 1.75 µg/ml, 5% BSA for blocking, 1:80 serum dilution, a 1:1,500 goat anti-human IgG peroxidase conjugate, washed three times with PBS-tween in each washing step and incubated at room temperature. In all, 58 serum samples tested by MAT were used for this comparative study as the gold standard method. The sensitivity of specificity 63.4 percent, positive predictive value of 37.5 percent, negative predictive value of 76.5 percent and accuracy of 52.9 percent and 60.3 percent were reported. Cross reactions with syphilis, avian flu and scrub typhus were not found. This method would have a diagnostic potential under certain conditions. However more samples are needed in further evaluation of this test method. |
Description: | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://thaidj.org/index.php/JHS/article/view/6741/6341 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1948 |
ISSN: | 3027-7396 (Print) 3027-740X (Online) |
Appears in Collections: | Medical Technology - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Leptospira.pdf | 85.79 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.