Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1969
Title: | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าของครอบครัวนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19 |
Other Titles: | Factors Influencing Depression of the Fourth Year Nursing Students’ family at Huachiew Chalermprakiet Universityin Covid-19 pandemic |
Authors: | โชติกา หาญมนตรี ณิชากร กันเนียม อัจฉรา ทุมเที่ยง อาภัสรา ผลเลิศ นงค์นภัส คำจันทร์ อรจิรา สุขบรรเทิง พิชชาพร โพธิ์ทอง ชลดา มะธิมะเนาว์ ณัฐณิชา บุญชุ่ม ปทุมทิพย์ อดุลวัฒนศิริ Chotika Hanmontri Nichagon Kunnaim Atchara Thumthaing Aphatsara Phonlert Nongnapas Kamchan Ornjira Sukbanthoeng Pitchaporn Phothong Chonlada Matimanao Nuttanicha Boonchum Patoomthip Adunwatanasiri Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
Keywords: | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะพยาบาล -- นักศึกษา Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing -- Students โควิด-19 (โรค) COVID-19 (Disease) การระบาดใหญ่ของโควิด-19, ค.ศ. 2020- COVID-19 Pandemic, 2020- นักศึกษาพยาบาล Nursing students ความซึมเศร้า Depression, Mental |
Issue Date: | 2021 |
Citation: | วารสารการพยาบาลและสุขภาพ สสอท. 3,3 (กันยายน-ธันวาคม 2564) : 1-16 |
Abstract: | การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตของประชาชนเป็นวงกว้าง เป็นภัยมืดที่คุกคามการดำเนินชีวิต การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการทำนายของอายุความเครียดความวิตกกังวล และสัมพันธภาพในครอบครัวต่อภาวะซึมเศร้าของครอบครัวนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 กลุ่มตัวอย่างเป็นสมาชิกในครอบครัวของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 88 คน เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถามทางออนไลน์ ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบประเมินความเครียด (ST5) 3) แบบประเมินความวิตกกงัวล (GAD-7) 4) แบบสอบถามสัมพันธภาพในครอบครัว และ 5) แบบประเมินภาวะซึมเศร้า (9Q) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า สมาชิกในครอบครัวมีภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 27.3 อายุความเครียด ความวิตกกังวลและสัมพันธภาพในครอบครัว สามารถร่วมกันอธิบายภาวะซึมเศร้าของครอบครัวนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ได้ ร้อยละ 79 (R2= .789, F = 82.384, p = .000) โดย พบว่า ความวิตกกงัวล (ß = .597, p = .000) และความเครียด (ß = .271, p =.005) สามารถทำนายภาวะซึมเศร้าได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนั้นบุคลากรทางการศึกษาควรให้คววามสนใจในการดูแลและจดักิจกรรมส่งเสริมภาวะสุขภาพจิตแก่นักศึกษาและครอบครัวนักศึกษาให้เข็มแข็งเพื่อลดภาวะซึมเศร้า The pandemic of COVID-19 has impacted on widespread psychological problems in population and also threatens in normal life. This study aimed to examine the predictive power of age, stress, anxiety, and family relationship on depression concerning COVID-19 pandemic of the 4th year nursing students’ family at Huachiew Chalermprakiet University. The 88 participants were recruited from family members of the 4 th year nursing students. The instrument consisted of 5 online questionnaires—1) demographic data, 2), the 5-item Stress questionnaire (ST-5), 3) Generalized Anxiety Disorder (GAD-7), 4) family relationship questionnaire, and 5) the 9 Questions Depression Rating Scale (9Q). Data were analyzed using descriptive statistics and multiple linear regressions. The finding showed 27.3% of the students’ family had depression. Age, stress, anxiety, and family relationship could jointly explain 79% of the variance of depression of family members in COVID-19 situation (R2 = .789, F = 82.384, p = .000). The factors that significantly predicted depression were anxiety (ß = .597, p = .000) and stress (ß = .271, p =.005). Therefore, educational personnel should be alert of caring and arranging activities to strengthen mental health of students and their family to decrease depression. |
Description: | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://rsujournals.rsu.ac.th/index.php/ajnh/article/view/2693/2094 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1969 |
ISSN: | 2697-4622 (Online) |
Appears in Collections: | Nursing - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Depression-Mental.pdf | 93.04 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.