Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2098
Title: ความชุกของพยาธิลำไส้ในพนักงานของโรงงาน อุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ
Other Titles: Prevalence of Intestinal Parasitic Infections in Employees of Manufacturing Industries in Samut Prakarn Province
Authors: สุภาภรณ์ วรรณภิญโญชีพ
บังอร ฉางทรัพย์
ชูศักดิ์ นิธิเกตุกุล
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. คณะแพทยศาสตร์
Keywords: พยาธิลำไส้
Intestinal parasitic
แรงงาน -- ไทย -- สมุทรปราการ
Labor -- Thailand -- Samut Prakarn
โรงงาน -- ไทย -- สมุทรปราการ
Factories -- Thailand -- Samut Prakarn
Issue Date: 2017
Citation: วารสาร มฉก.วิชาการ 20, 40 (มกราคม-มิถุนายน 2560) : 13-28
Abstract: ศึกษาความชุกของพยาธิลำไส้ในพนักงาน จากโรงงานอุตสาหกรรมใน 6 อำเภอ ของจังหวัด สมุทรปราการ ช่วงเวลาระหว่างเดือนมีนาคม พ.ศ. 2555 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 จำนวน 540 ราย โดยการตรวจอุจจาระวิธีเข้มข้น พบการติดเชื้อ 34 ราย (ร้อยละ 6.3) จากอำเภอบางพลี บางเสาธง บางบ่อ สมุทรเจดีย์ เมือง และพระประแดง จำนวนร้อยละ 1.85 1.30 1.30 0.93 0.56 0.37 ตามลำดับ ผู้ติดเชื้อ ส่วนใหญ่มีอายุ 31-40 ปี (ร้อยละ 2.59) เพศชายเข้ารับการตรวจ 335 ติดเชื้อ 20 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.97 เพศหญิงเข้ารับการตรวจ 205 คน ติดเชื้อ 14 คน คิดเป็นร้อยละ 6.83 จำนวนผู้ติดเชื้อและร้อยละของผู้ติด เชื้อพยาธิลำไส้แยกตามจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่มาจากภาคเหนือ กลาง ตะวันออก ใต้ ตะวันออกเฉียงเหนือ และต่างด้าวมีจำนวน 4(7.84) 5(4.13) 3(6.67) 0(0) 19(6.13) และ 3(60) ราย ตามลำดับ พยาธิลำไส้ที่ ตรวจพบคือ กิอาเดียแลมเบีย (Giardia lamblia) พยาธิใบไม้ตับ (Opisthorchis viverrini) พยาธิตืดทีเนีย (Taenia spp.) พยาธิปากขอ(Hookworm) พยาธิเส้นด้าย (Strongyloides stercoralis) และพยาธิไส้ เดือน (Ascaris lumbricoides) การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ทางสถิติของการติดเชื้อพยาธิลำไส้กับภูมิ ลำเนา ตำแหน่งงาน สุขอนามัยส่วนบุคคล และพฤติกรรมการบริโภค พบว่ามีความสัมพันธ์กัน (p<0.05) ส่วนการติดเชื้อพยาธิลำไส้กับอายุ เพศ รายได้ ระดับการศึกษาและการได้รับความรู้เรื่องโรคพยาธินั้นพบว่า ไม่มีความสัมพันธ์กัน
A survey of the prevalence of intestinal parasitic infections in employees of manufacturing industries in Samut Prakarn Province was carried out during March 2012 – February 2013. A total of 540 fecal samples were obtained from 6 districts in Samut Prakarn Province. The highest rate of infections was among the subjects aged between 31- 40 years (2.59%). The percentage parasite positive from Bangphli, Bangsautong, Bangbo, Samut- Jadee, Muang and Prapadang districts were 1.85, 1.30, 1.30, 0.93, 0.56 and 0.37, respectively. Out of 335 male subjects, 20 subjects (5.97%) were found to be infected with parasites. Of 205 female subjects, 14 subjects (6.83%) were found to be infected with parasites. The number of the infected samples from the North were 4 (7.84%), from Central were 5 (4.13), from the Eastern were 3 (6.67%), from the South were 0 (0%), from the Northeast were 19 (6.13%) and from the foreigners were 3 (60%) respectively. Parasites found in the infected subjects were Giardia lamblia, Opisthorchis viverrini, Taenia spp., Hookworm, Strongyloides stercoralis, and Ascaris lumbricoides. Statistical analysis showed a significant relationship between parasitic infections and domicile, job status, personal hygiene and consumption behavior (p<0.05) but age, gender, income, education level as well as knowledge on parasitic infection had no significant effect.
Description: สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/149524/109755
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2098
ISSN: 0859-9343 (Print)
2651-1398 (Online)
Appears in Collections:Science and Technology - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Intestinal-parasitic.pdf110.82 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.