Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2162
Title: การศึกษาการจัดการเรียนการสอน (สายศิลป์) ของโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 6 : กรณีศึกษาโรงเรียนหลวงพ่อปานคลองด่านอนุสรณ์
Other Titles: Educate of The Secondary Educational Service Area Office 6 in High School Program Curriculum (Arts Program) : Case Study at Luangporpan Khlongdan Anusorn School
Authors: ไพศาล ทองสัมฤทธิ์
ธนดล จิรสันติวงศ์
สุทธสร ศรีวิภากุล
เทพี แซ่มัด
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. วิทยาลัยจีนศึกษา
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. วิทยาลัยจีนศึกษา
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. วิทยาลัยจีนศึกษา
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. วิทยาลัยจีนศึกษา
Keywords: ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
汉语 -- 学习和教学 (中学)
Chinese language -- Study and teaching (Secondary)
ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน -- ไทย -- สมุทรปราการ
汉语 -- 学习和教学 -- 泰国 -- 北榄府
Chinese language -- Study and teaching -- Thailand -- Samut Prakarn
โรงเรียนหลวงพ่อปานคลองด่านอนุสรณ์
Luangporpan Khlongdan Anusorn School
Issue Date: 2021
Citation: วารสารวิชาการ ภาษาและวัฒนธรรมจีน 8,1 (มกราคม-มิถุนายน 2564) : 41-59
Abstract: จุดสำคัญของบทความนี้อยู่ที่การศึกษาการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 6 หรือ สพม.เขต 6 ซึ่งมีหน้าที่ดูแลโรงเรียนในสังกัดความรับผิดชอบทั้งสิ้น 54 โรงเรียน ครอบคลุมพื้นที่ดูแล 2 จังหวัดคือจังหวัดสมุทรปราการและจังหวัดฉะเชิงเทรา สามาถแบ่งเป็นโรงเรียนในจังหวัด สมุทรปราการจำนวน 25 โรงเรียน และโรงเรียนในจังหวัดฉะเชิงเทราจำนวน 29 โรงเรียน บทความนี้ใช้วิธีการศึกษาทั้งแบบปฐมภูมิและทุติยภูมิ เช่น การสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ของศึกษาธิการจังหวัดสมุทรปราการ การค้นคว้าหาข้อมูลจากเอกสารออนไลน์ รวมถึงศึกษาหลักสูตรและรายวิชาของโรงเรียนเป้าหมายที่ใช้เป็นกรณีศึกษา คือ โรงเรียนหลวงพ่อปานคลองด่านอนุสรณ์ ซึ่งสาเหตุที่เลือกโรงเรียนแห่งนี้ เนื่องจากปัจจัยในด้านต่างๆ เช่น สภาพพื้นฐานของโรงเรียน ศักยภาพของผู้สอน รวมถึงเนื้อหาของหลักสูตรและได้ช้อสรุปดังนี้ 1. ปัจจุบันโรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอนสายศิลป์แบบมีภาษาจีนเป็นวิชาเลือก 2. แผนการสอน และรายวิชาด้านจีนของโรงเรียนสามารถต่อยอดเป็นแผนการศึกษาแบบศิลป์-ภาษาจีนได้ ข้อเสนอแนะจากการศึกษาครั้งนี้ นอกเหนือจากพัฒนาแผนการศึกษาจากเดิม ให้เป็นแบบศิลป์-ภาษาจีนแล้ว คณาจารย์ของโรงเรียนควรได้รับการอบรมความรู้เกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมจีนเพิ่มเติม เพื่อให้รู้รอบในศาสตร์ด้านจีนมากขึ้น และควรมีการรับครูอาสาชาวจีนจากส่วนกลางเพื่อรองรับการเป็นแผนการเรียนแบบศิลป์-ภาษาจีน อย่างเป็นระบบและเต็มรูปแบบในอนาคต
The focus of this article is to study the teaching and learning, the schools in the secondary education area office 6 which is responsible for 54 schools and covers two provinces, are Samut Prakan Province and Chachoengsao Province. It can be divided into 25 schools in Samut Prakan Province and 29 schools in Chachoengsao Province. In this article, the authors used both primary and secondary methods of education, such as interviews with the staffs of Samut Prakan Provincial Education Office, researching documents online, including studying the curriculum and subjects of the target school used as a case study or Luangporpan Khlongdan Anusorn School. The reason for choosing this school is due to factors such as the school's basic condition, teachers’ potential, and course content which is concluded as follows 1. At present, the school has organized an Art - Chinese class as an elective subject. 2. The lesson plans and Chinese courses can be further developed into an Art-Chinese study plan. However, there are suggestions: in addition to developing a study plan from the original to be an Art - Chinese form, the faculty should receive additional training in Chinese and culture to learn more about Chinese language and should get the Chinese volunteer teachers from the center to support the Systematically of art-Chinese study plan in the future.
Description: สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so02.tci-thaijo.org/index.php/clcjn/article/view/249093/168952
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2162
ISSN: 2801-9805 (Online)
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Luangporpan-Khlongdan-Anusorn-School .pdf103.45 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.