Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2163
Title: | การเปรียบเทียบระบบความหมายของคำในภาษาจีนและภาษาไทยจากคำกริยาพยางค์ เดียวที่มีความหมายเกี่ยวกับการมองดู |
Other Titles: | A Comparison of the Semantic Systems of Chinese and Thai words: from One-Syllable Verbs which are about vision |
Authors: | นริศ วศินานนท์ สุกัญญา วศินานนท์ Naris Wasinanon 何福祥 Sukanya Wasinanon 黄如侬 Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies Indepentdent Scholar |
Keywords: | ภาษาไทย – คำศัพท์ Thai language – Glossaries, vocabularies, etc. ภาษาไทย – อรรถศาสตร์ Thai language – Semantics ภาษาจีน – คำศัพท์ Chinese language – Glossaries, vocabularies, etc. ภาษาจีน – อรรถศาสตร์ Chinese language -- Semantics 泰语 -- 词汇 泰语 -- 语义 汉语 -- 词汇 |
Issue Date: | 2021 |
Citation: | วารสารวิชาการ ภาษาและวัฒนธรรมจีน 8,1 (มกราคม-มิถุนายน 2564) : 27-40 |
Abstract: | บทความนี้เป็นการศึกษาเปรียบเทียบระบบความหมายของคำในภาษาจีนและภาษาไทย โดยศึกษาจาก คำกริยาพยางค์เดียวที่มีความหมายเกี่ยวกับการมองดู มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความแตกต่างเชิงอัตลักษณ์และ ความเหมือนเชิงนัยทั่วไปของระบบความหมายของคำในภาษาจีนและภาษาไทย คำกริยาที่ศึกษาอ้างอิงความหมาย จากพจนานุกรมภาษาจีนปัจจุบัน (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 6) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (พ.ศ.2554) และ พจนานุกรมจีน-ไทย (พ.ศ.2559) เป็นข้อมูลหลัก และศึกษาเปรียบเทียบคำกริยา 3 ด้าน คือ 1. ด้านกลุ่ม ความหมายของคำกริยา 2. ด้านรายการความหมายของคำกริยา 3. ด้านความสามารถในการสร้างคำกริยา
ผลการศึกษาเปรียบเทียบเห็นได้ว่า ภาษาที่แตกต่างกันจะมีระบบคำศัพท์ที่แสดงความหมายเหมือนกัน และแตกต่างกันไป ภาษาจีนและภาษาไทยต่างก็มีระบบความหมายของคำที่เป็นอัตลักษณ์ ภาษาจีนมีคำที่สื่อความหมายเกี่ยวกับการมองดูจำนวนมากกว่าภาษาไทย สาเหตุมาจากตรรกกะหรือมุมมองความคิดที่ละเอียดใน การสร้างคำ ประกอบกับภาษาจีนมีประวัติและวิวัฒนาการทางภาษาที่ยาวนานกว่า การสร้างคำศัพท์จึงมีจำนวนมากกว่า ด้วยเหตุนี้จากการศึกษาระบบความหมายของคำในภาษาจีนและภาษาไทยไม่ว่าจะเป็นมิติของกลุ่ม ความหมายของคำ ความสามารถในการสร้างคำ และจำนวนรายการความหมายของกลุ่มคำกริยาล้วนสะท้อนให้เห็นถึงระบบความหมายคำที่แตกต่างกัน ด้านความเหมือนกันคือคำกริยาพยางค์เดียวที่มีความหมายเกี่ยวกับการ มองดูในภาษาจีนและภาษาไทย สามารถหาคำปฏิคมหรือคำเทียบเคียงได้เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งปรากฏการณ์นี้มีในทุกภาษา This article compares the semantic systems of Chinese and Thai words by studying from the meaning of one-syllable verbs which are about vision. The objective of this study was to study the difference and generalization of the semantic system of Chinese and Thai words. The verbs studied refer to the meaning from the Contemporary Chinese Dictionary (Sixth revision), the Royal Institute's Dictionary (2011) and Chinese-Thai Dictionary (2016), comparing 3 aspects of the verbs: 1. The semantic group of verbs 2. The list of meanings of verbs 3. The ability to form verbs. The results of a comparative study can be seen that different languages have a semantic system that expresses both the same and different meanings. Both Chinese and Thai languages have identity systems of meanings. Chinese has more verbs which are about vision than Thai. This result from a logic or a detailed idea of how to form words. Along with the Chinese language has a long history and evolution. Therefore, Word formation is more numerous. For this reason, from the study of the semantic system of Chinese and Thai language, whether it is the dimension of the words group, or the ability to form words and the number of lists of meanings of the verb groups all reflect different semantic systems. The same aspect is the one-syllable verbs which are about vision in Chinese and Thai can find most hostesses or comparisons. And this phenomenon is considered a linguistic phenomenon of all languages. |
Description: | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so02.tci-thaijo.org/index.php/clcjn/article/view/248787/168951 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2163 |
ISSN: | 2801-9805 (Online) |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thai-and-Chinese-language-Semantics.pdf | 92.12 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.