Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2323
Title: ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของคนวัยทำงานในชุมชนคลองหนองงูเห่า อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
Other Titles: Factors Related to Health Promoting Behavior of Working-Age People in Clong Nong Ngu Hou Community, Bang-Phli District, Samut Prakan Province
Authors: นุชนาถ เจริญรักษ์
ทวีศักดิ์ กสิผล
นพนัฐ จำปาเทศ
จริยาวัตร คมพยัคฆ์
Nuchanat Charoenruk
Taweesak Kasiphol
Nopphanath Chumpathat
Jariyawat Kompayak
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
Independent Scholar
Keywords: การส่งเสริมสุขภาพ
Health promotion
พฤติกรรมสุขภาพ
Health behavior
การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง
Self-care, Health
Issue Date: 2021
Citation: วารสาร มฉก.วิชาการ 25, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2564) : 288-300
Abstract: การวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และปัจจัยความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ประโยชน์ต่อการปฏิบัติพฤติกรรม การรับรู้อุปสรรคต่อการปฏิบัติพฤติกรรม การรับรู้ความสามารถของตนต่อการปฏิบัติพฤติกรรม และอิทธิพลระหว่างบุคคลต่อการปฏิบัติพฤติกรรม กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของคนวัยทำงานที่อาศัยอยู่ในชุมชนหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ระหว่าง 1 มีนาคม ถึง 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 จำนวน 132 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และแบบสอบถามปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพซึ่งสร้างโดยผู้วิจัยตามกรอบแนวคิดของเพนเดอร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และสถิติสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( = 1.49, SD = 0.30) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพด้านโภชนาการและด้านกิจกรรมทางกายอยู่ในระดับปานกลางเช่นกัน ( = 1.78, SD = 0.43; = 1.20, SD = 0.51 ตามลำดับ) การรับรู้ประโยชน์ต่อการปฏิบัติพฤติกรรม และการรับรู้ความสามารถของตนต่อการปฏิบัติพฤติกรรมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .567, r = .451 ตามลำดับ) การรับรู้อุปสรรคต่อการปฏิบัติพฤติกรรมมีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -.461) ขณะที่อิทธิพลระหว่างบุคคลไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ (r = .078) ผลการวิจัยนี้สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการออกแบบกิจกรรมหรือโปรแกรมในการส่งเสริมพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของคนวัยทำงานได้
This descriptive correlation research aimed to examine the level of health-promoting behavior and explore the relationship between perceived benefits of action, perceived barriers to action, perceived self-efficacy, interpersonal influence, and health-promoting behavior among working-age people. The 132 participants included working-age people living in Nong Prue subdistrict, Bang Phli district, Samut Prakan Province between March 1 and May 31, 2021. The research instruments included a demographic data questionnaire, a health-promoting behavior questionnaire, and a factors-related to health-promoting behavior questionnaire-- which was modified by the researcher from Pender’s health promotion model. Descriptive statistics and Pearson’s Product Moment Correlation statistics were used to analyze the data. The results of the study revealed that the sample group had overall health-promoting behavior at a moderate level ( = 1.49, SD = 0.30). When considering each aspect, it was found found that health- promoting behavior in nutrition and physical activity were at moderate level as well ( = 1.78, SD = 0.43, = 1.20, SD = 0.51, respectively). Perceived benefits of action and perceived self-efficacy had a positive correlation with health-promoting behavior (r = .567, r = .451, p = <.01, respectively), perceived barriers to action had a negative correlation with health-promoting behavior, (r = .461, p = <.01, respectively), but no correlation was found between interpersonal influence and health-promoting behavior. The findings from this study can be used as baseline data to design activities or programs for enhancement health-promoting behavior in working-age people.
Description: สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/252006/171389
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2323
ISSN: 0859-9343 (Print)
2651-1398 (Online)
Appears in Collections:Nursing - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Health-Promoting-Behavior-of-Working-Age-People.pdf141.16 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.