Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2326
Title: ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อการเผชิญความเจ็บครรภ์คลอดของหญิงตั้งครรภ์แรก
Other Titles: Factors Related to Perceived Self-Efficacy in Coping with Labor Pain in Primiparous Pregnant Women
Authors: ชนกพร ศิลธรรมกิจ
รัชดา พ่วงประสงค์
Chanokpron Sinlatamkij
Rachada Phuangprasonka
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
Keywords: การคลอด
Labor ‪(Obstetrics)‬
ความเจ็บปวด
Pain
ความสามารถในตนเอง
Self-efficacy
Issue Date: 2022
Citation: วารสารพยาบาลทหารบก 23, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2565) : 99-108
Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อการเผชิญความเจ็บครรภ์คลอดของหญิงตั้งครรภ์แรก กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาคือหญิงตั้งครรภ์แรกที่มารับบริการ ณ ห้องคลอด โรงพยาบาลสมุทรปราการ จำนวน 128 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีสุ่มตัวอย่าง แบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามเจตคติต่อการตั้งครรภ์ แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมขณะตั้งครรภ์ และแบบสอบถามการรับรู้ความสามารถของตนเองในการคลอด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า ข้อมูลส่วนบุคคลได้แก่ สถานภาพสมรส ระยะเวลาในการคลอด เจตคติต่อการตั้งครรภ์ และการสนับสนุนทางสังคมขณะตั้งครรภ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อการเผชิญความเจ็บครรภ์คลอดของหญิงตั้งครรภ์แรกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่รระดับ .05 (r = .237p< .05, r = .240, p< .05 r = .223, p< .05 r = .250, p < .05 ตามลำดับ)
The objective of this descript study was to examine factors related to Perceived Self-Efficacy in Coping with Labor Pain Among Primiparous Women. Research participants were 128 first-time pregnant women attending ante natal care clinic at Samutprakarn hospital. They were recruited in the study by simple random sampling. Data were collected by using questionnaires of including Personal record form, Childbirth self-efficacy inventory Questionnaire, Attitude towards Childbirth Questionnaire, Labor Social support Questionnaire and Thai Version of Childbirth Self-efficacy Inventory. Data were analyzed by using descriptive statistics and Pearson product moment correlation coefficients. The results showed that there was statistically significant positive correlation between education (r = .069, p = .438), status (r = .029, p = .745), length time of labor (r = .074, p = .405), Attitude towards Childbirth (r = .046, p = .604), and Social support at the alpha level .05.
Description: สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/250149/174650
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2326
ISSN: 3027-8791 (Online)
Appears in Collections:Nursing - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Labor-Pain-in-Primiparous-Pregnant-Women .pdf137.34 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.