Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2430
Title: ผลของแอปพลิเคชันตรวจเต้านมด้วยตนเองต่อความเชื่อด้านสุขภาพและการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีวัยทำงาน
Other Titles: The Effects of a Breast Self-Examination Application Health Believes and Breast Self-Examination in Working Woman
Authors: จันทรเกษม เทียนทรัพย์
กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม
อรพินท์ สีขาว
Jankasem Tiensap
Kamontip Khungtumneum
Orapin Sikaow
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
Rangsit University. Faculty of Nursing
Keywords: เต้านม -- มะเร็ง -- การป้องกัน
Breast -- Cancer -- Prevention
การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง
Self-care, Health
เต้านม -- การตรวจ
Breast -- Examination
เต้านม -- มะเร็ง
Breast -- Cancer
Issue Date: 2023
Citation: วารสารพยาบาลทหารบก 24,1 (มกราคม-เมษายน 2566) : 279-288.
Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของแอปพลิเคชันตรวจเต้านมด้วยตนเองต่อความเชื่อด้านสุขภาพและการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีวัยทำงาน จำนวน 30 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แอปพลิเคชันการตรวจเต้านม แบบสอบถามความเชื่อด้านสุขภาพ ประกอบด้วย ด้านการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเต้านม ด้านการรับรู้ความรุนแรงของโรคมะเร็งเต้านม ด้านการรับรู้ประโยชน์ในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ด้านการรับรู้ความสามารถในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และประเมินความพึงพอใจหลังการใช้แอปพลิเคชัน ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าครอนบัค เท่ากับ .845 .817 .923 .847 และ .842 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ Dependent t-test ผลการวิจัย พบว่าหลังการใช้แอปพลิเคชันตรวจเต้านมด้วยตนเอง กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยคะแนนความเชื่อด้านสุขภาพ และความถูกต้องในการตรวจเต้านมด้วยตนเองเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ <.05 และมีความพึงพอใจหลังการใช้แอปพลิเคชันตรวจเต้านมอยู่ในระดับมากที่สุด (Mean = 4.22, S.D. = .44)
This study quasi-experimental study aims to identify the effectiveness of Breast self exam application on health belief and breast self examination practice in 30 working age women. Research tool in this study was of Breast self exam application and health belief questionnaire, which consists of perceived susceptibility and severity of breast cancer, perceived benefits and capability of breast self examination, and satisfaction evaluation form. The Cronbach alpha coefficient of 0.845, 0.817, 0.923, 0.847 and 0.842, respectively. Statistical analysis was performed by average, standard deviation, and Dependent t-test. The results revealed that the intervention group, who utilized the Breast self exam application, received higher health belies and precision of breast self examination with statistical significance (p<0.05). The post-intervention satisfaction score of the Breast self exam application is also at the excellence level(mean = 4.22, S.D. = 0.44).
Description: สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/250412/177473
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2430
ISSN: 2985-1041 (Online)
Appears in Collections:Nursing - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Breast-Self-Examination.pdf79.43 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.