Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2535
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขัตติยา กรรณสูต-
dc.contributor.advisorKattiya Kannasut-
dc.contributor.advisorธัญญา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.advisorThanya Sanitwongse Na Ayuttaya-
dc.contributor.authorชลธร รักษานุวงศ์-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare-
dc.date.accessioned2024-08-04T12:44:48Z-
dc.date.available2024-08-04T12:44:48Z-
dc.date.issued2002-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2535-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (สส.ม.) (การจัดการโครงการสวัสดิการสังคม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2545en
dc.description.abstractการศึกษาการดุแลตนเองของผู้สูงอายุในชุมชน : กรณีศึกษาผู้สูงอายุในชุมชนสะพานพระรามหก เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการดูแลตนเองของผู้สูงอายุในชุมชน และปัจจัยพื้นฐานที่มีส่วนส่งเสริมในการดูแลตนเองของผู้สูงอายุในชุมชน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุในชุมชนสะพานพระรามหก เขตบางซื้อ กรุงเทพมหานคร จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ วิเคราะห์เชิงตรรถวิทยาผลการศึกษา พบว่า การดูแลตนเองโดยทั่วไป กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ รับประทานอาหารวันละ 3 มื้อ ไม่มีความรู้เกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่ การดูแลความสะอาดร่างกายดี พักผ่อนเพียงพอ มีการออกกำลังกายโดยการทำงานนอกบ้าน ไม่มีการตรวจสุขภาพ มีการป้องกันอุบัติเหตุภายในบ้านและภายนอกบ้าน ส่วนการดูแลตนเองตามระยะพัฒนาการ ผู้สูงอายุ้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการทำงานบ้าน เวลาโกรธ เสียใจ หงุดหงิด จะนิ่งเฉย หรือเดินหนี เมื่อรู้สึกว่าบทบาทของตนเองลดลงจะทำใจยอมรับได้ สำหรับการดูแลตนเองตามภาวะสุขภาพถดถอย เมื่อเจ็บป่วยเล็กน้อยจะซื้อยามารับประทานและเมื่อเจ็บป่วยรุนแรงจะรักษาที่โรงพยาบาล และปฏิบัติตามที่แพทย์แนะนำ ได้รับข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุจากเพื่อนบ้านมากที่สุด การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐานกับการดุแลตนเอง พบว่า เพศและอายุ มีความสัมพันธ์กับการรับประทานอาหาร การดูแลความสะอาดร่างกาย การออกกำลังกาย อายุ มีความสัมพันธ์กับการรับประทานอาหาร การดูแลความสะอาดร่างกาย การออกกำลังกาย ระดับการศึกษา มีความสัมพันธ์กับการรับประทานอาหารหลัก 5 หมู่ รายได้ มีความสัมพันธ์กับการรับประทานอาหาร อาหารเสริม การออกกำลังกาย การตรวจสุขภาพ จากผลวิจัยนี้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะ 1) สำหรับการจัดบริการในชุมชนในเรื่องการเพิ่มอาสาสมัครสาธารณสุข เจ้าหน้าที่ในการทำงานเชิงรุกในการดูแลผู้สูงอายุให้มากขึ้น ส่งเสริมผู้สูงอายุให้มีการดูแลตนเองอย่างถูกวิธี ส่งเสริมและแนะนำให้ผู้สูงอายุรู้จักอดออม จัดให้มีหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ จัดกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุและครอบครัว การผ่อนผัน กฎ ระเบียบ และให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมมากขึ้น 2) สำหรับหน่วยงานภาครัฐในเรื่องการจัดให้มีบริการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ อบรมความรู้เรื่องการดูแลผู้สูงอายุ จัดตั้งศูนย์สุชภาพภายในชุมชนในเรื่องของการจัดสรรงบประมาณค่าตอบแทนที่เหมาะสมของอาสาสมัครในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน และ 3) การวิจัยต่อเนื่องในเรื่องแนวทางการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุในชุมชนแออัด และรูปแบบการออกกำลังกายของผู้สูงอายุในชุมชนen
dc.language.isothen
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectผู้สูงอายุ -- ไทยen
dc.subjectOlder people -- Thailanden
dc.subjectผู้สูงอายุ -- การดูแลen
dc.subjectOlder people -- Careen
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองen
dc.subjectSelf-care, Healthen
dc.subjectชุมชนแออัดen
dc.subjectSlumsen
dc.titleการดูแลตนเองของผู้สูงอายุในชุมชน : กรณีศึกษาผู้สูงอายุในชุมชน สะพานพระรามหก เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeSelf Caring of Aging in Community : A Case Study of Aging in Rama Bridge Community, Bangsu District, Bangkoken
dc.typeIndependent Studiesen
dc.degree.nameสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการจัดการโครงการสวัสดิการสังคมen
Appears in Collections:Social Work and Social Welfare - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Self-Caring-of-Aging-in-Community.pdf
  Restricted Access
49.22 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.