Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2575
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | รวิ ถิ่นปรีเปรม | - |
dc.contributor.author | อุมารัตน์ ศิริจรูญวงศ์ | - |
dc.contributor.author | วาสนา ศิลางาม | - |
dc.contributor.author | Rawi Thinpreprem | - |
dc.contributor.author | Umarat Sirijaroonwong | - |
dc.contributor.author | Wasana Silangam | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health. | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health | en |
dc.date.accessioned | 2024-08-10T11:16:47Z | - |
dc.date.available | 2024-08-10T11:16:47Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2575 | - |
dc.description | Proceedings of the 8th National and International Conference on "Research to Serve Society", 25 June 2021 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. p. 1150-1163. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้และพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ์ใหม่ 2019 ของนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 และปีที่ 4 มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 99 คน จากการสุ่มอย่างง่าย เก็บรวบรวมข้อมูลในเดือนกันยายนถึงธันวาคม 2020 เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถามความรู้และแบบสอบถามพฤติกรรมซึ่งเป็นแบบเลือกตอบมี สเกล 5 ระดับ มีค่าความตรงของเนื้อหา (IOC) แบบรายฉบับเท่ากับ 0.90 และมีค่าความเชื่อมั่น (ค่าสัมประสิทธ์ แอลฟาครอนบาค) เท่ากับ 0.83 และ 0.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความแตกต่างใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) และ ทดสอบความสัมพันธ์ใช้ค่าสหสัมพันธ์เพียรสัน (Pearson product moment correlation coefficient) ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 88.89) มีอายุเฉลี่ย 21.80 (SD= 0.78) ปี ไม่ มีโรคประจำตัว มีภูมิลำเนาเป็นพื้นที่เสี่ยงระดับ 4 หรือพื้นที่สีแดง ร้อยละ 90.91 และ 52.53 ตามลำดับ มีความวิตก กังวลเกี่ยวกับสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 อยู่ในระดับมาก ได้รับข้อมูลข่าวสารจากโทรทัศน์และสื่อสังคม ออนไลน์ ร้อยละ 45.45 และ 61.61 ตามลำดับ ภาพรวมมีความรู้และพฤติกรรมเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากการ ติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 อยู่ในระดับมาก (x = 10.33, SD = 1.64) และค่อนข้างมาก (x = 4.05, SD = 0.18) ตามลำดับ เมื่อพิจารณารายข้อของความรู้และพฤติกรรมฯ ที่ได้คะแนนน้อยเป็นเรื่องการดูแลร่างกายให้ แข็งแรงและการปฏิบัติตัวเมื่อมีอาการป่วยน่าสงสัย การเลือกใช้ การใช้และการทิ้งหน้ากากอนามัยอย่างเหมาะสม การป้องกันการสัมผัสเชื้อจากมือ และการฆ่าเชื้อบนมือที่ถูกต้อง | en |
dc.description.abstract | This study aimed to determine the knowledge and behavior of students of Public Health and Environment Faculty at Huachiew Chalermprakiet University regarding self-care protection from COVID-19. The students are studying in the third and fourth year. There was a sample of 99 people from a simple random sampling. The samples were studying in year 3 and year 4. Data was collected in September-December 2020. The research tool was a knowledge and a behavior questionnaire. The questionnaire was a multiple choice with 5 scales. The content validity (IOC) was 0.90. The reliabilities (Cronbach Co-efficiency) were 0.83 and 0.96 respectively. The data were analyzed with frequency, percentage, mean and standard deviation. compare the differences using a one-way ANOVA, test the relationship using the Pearson product moment correlation coefficient. Results showed that most of the samples were female (88.89%), mean age 21.80 (SD = 0.78) years, had no congenital disease and were domiciled in high level risk area about the COVID-19 outbreak situation or red areas, 90.91 and 52.53 percent, respectively. The samples had anxiety at a high level and receive COVID-19 information from television and social media, 45.45% and 61.61% respectively. Overall, the sample had the knowledge and behavior of self-care prevention from COVID-19 was at a high level (x = 10.33, SD = 1.64) and quite high level. (x = 4.05, SD = 0.18), respectively. When considering each item of the knowledge and behavior of the samples, that items with low scores were: good physical health caring and practices for a suspected illness, choosing the right anti-infection mask, using and disposing of a mask, preventing hand infections and using hand sanitizer. | en |
dc.language.iso | th | en |
dc.rights | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | en |
dc.subject | โควิด-19 (โรค) -- การป้องกัน | en |
dc.subject | COVID-19 (Disease) -- Prevention | en |
dc.subject | การระบาดใหญ่ของโควิด-19, ค.ศ. 2020- | en |
dc.subject | COVID-19 Pandemic, 2020- | en |
dc.subject | ความรอบรู้ทางสุขภาพ | en |
dc.subject | Health literacy | en |
dc.subject | พฤติกรรมสุขภาพ | en |
dc.subject | Health behavior | en |
dc.subject | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม – นักศึกษา | en |
dc.subject | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health -- Students | en |
dc.title | ความรู้และพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ์ใหม่ 2019 ของนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | en |
dc.title.alternative | Knowledge and Behavior of Students of Public Health and Environmental, Huachiew Chalermprakiet University Regarding Self-Care Prevention from Novel Coronavirus 2019 (COVID-19) | en |
dc.type | Proceeding Document | en |
Appears in Collections: | Public and Environmental Health - Proceeding Document |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Knowledge-Behavior-of-Students-Self-Care-Prevention-COVID-19.pdf | 631.1 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.