Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2768
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | แววมยุรา คำสุข | - |
dc.contributor.advisor | Wawmayura Chamsuk | - |
dc.contributor.author | ณรงค์ศักดิ์ เถื่อนใย | - |
dc.contributor.author | Narongsak Thanyai | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration | - |
dc.date.accessioned | 2024-09-06T13:52:38Z | - |
dc.date.available | 2024-09-06T13:52:38Z | - |
dc.date.issued | 2012 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2768 | - |
dc.description | การศึกษาอิสระ (บธ.ม.) (การจัดการอุตสาหกรรม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2555 | en |
dc.description.abstract | การศึกษาอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการผลิตลวดที่มีของเสียเกิดขึ้นในกระบวนการผลิต เพื่อเข้าถึงปัญหาของเสียในกระบวนการผลิตที่เกิดขึ้นและหาแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ ซึ่งคาดว่าจะสามารถใช้เป็นแนวทางในการวิเคราะห์ปัญหา เพื่อหาวิธีการลดของเสียในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมเดียวกันได้จากการศึกษาสภาพปัจจุบันของโรงงาน มีการดำเนินการผลิตมาเป็นระยะเวลานาน โดยเริ่มจากกำลังการผลิตขนาดเล็ก จนปัจจุบันมีกำลังการผลิตที่ใหญ่ขึ้น แต่ยังไม่มีระบบมาตรฐานใดมาช่วยส่งเสริมด้านการผลิต ทำให้การผลิตของโรงงาน ประสบกับปัญหาการมีของเสียเกิดขึ้นมาจากกระบวนการผลิต ซึ่งผู้ศึกษาได้ศึกษาในกระบวนการผลิตลวด โดยเก็บข้อมูลในช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554 โดยมีของเสียในกระบวนการผลิตร่วมทั้งสามเดือนประมาณ 167,272,7 กิโลกรม เพื่อนำมาวิเคราะห์หาปัญหากระบวนการผลิตที่ไม่ได้มาตรฐาน ส่งผลให้มีของเสียเกิดขึ้นทำให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการนำไปเข้ากระบวนการเพื่อผลิตขึ้นมาใหม่ หรืออาจต้องทิ้งไปสูญเสียทั้งทรัพยากร โดยไม่เกิดประโยชน์ ผู้ศึกษาได้นำข้อมูลของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตมาวิเคราะห์ด้วยแผนภูมิพาเรโต เพื่อหาลักษณะที่มีค่าของเสียมากที่สุด และนำมาวิเคราะห์หาสาเหตุด้วยแผนผังก้างปลา เมื่อทราบสาเหตุแล้วจริงนำหลักการ ECRS เข้ามาปรับปรุงกระบวนการผลิต เพื่อให้ขั้นตอนการทำงาน ทำงานได้อย่างไหลต่อเนื่อง ได้ชิ้นงานที่ตรงตามความต้องการอย่างมีคุณภาพ และลดเวลาการรอคอย ลดขั้นตอนการทำงานที่ซับซ้อน และลดของเสียในกระบวนการผลิต ซึ่งเป็นต้นทุนที่สูงขึ้นจากการผลิตที่ไม่มีคุณภาพจากการดำเนินการแก้ไขทำให้ปริมาณของเสียลดลง เมื่อนำผลของเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554 มาหาค่าเฉลียของเสียที่เกิดขึ้น พบว่าปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นก่อ่นการปรับปรุงแก้ไขมีค่าเฉลี่ย 12,401 กิโลกรัม และในเดือนมกราคม 2555 สามรถลดของเสียที่เกิดขึ้นลงมาเหลือ 553.4 กิโลกรัม ซึ่งคิดเป็นเปอร์เซ็น สามารถลดของเสียในกระบวนการผลิตลงได้ถึง 95.5 เปอร์เซ็น ซึ่งของเสียที่ยังเกิดขึ้นนั้น เกิดจากความประมาณของพนักงานในการขนย้าย ที่ยังขาดทักษะและประสบการณ์ | en |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | en |
dc.rights | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | en |
dc.subject | การควบคุมการผลิต | en |
dc.subject | Production control | en |
dc.subject | การลดปริมาณของเสีย | en |
dc.subject | Waste minimization | en |
dc.subject | การควบคุมคุณภาพ | en |
dc.subject | Quality control | en |
dc.subject | การควบคุมความสูญเปล่า | en |
dc.subject | Loss control | en |
dc.title | การลดของเสียในกระบวนการผลิตลวด : กรณีศึกษาโรงงานผลิตลวด | en |
dc.title.alternative | Waste Reduction in Wire Production : A Case Study of Wire Production Manufacturing | en |
dc.type | Independent Studies | en |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | การจัดการอุตสาหกรรม | en |
Appears in Collections: | Business Administration - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Waste-Reduction-in-Wire-Production.pdf Restricted Access | 13.44 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.