Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2771
Title: ความสัมพันธ์ระหว่างระดับกิจกรรมทางกายและดัชนีมวลกายของบุคลากรในสำนักงาน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
Other Titles: Relationship between physical activity levels and body mass index of office workers in Huachiew Chalermprakiet University
Authors: ณรัตน์ พิชัยยงค์วงศ์ดี
สุนทรี ชยาวัชรกุล
สุดาพร พุ่มเมือง
Narat Pichaiyongvongdee
Soontaree Chayawatcharakul
Sudaporn Pummoung
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy
Keywords: ดัชนีมวลกาย
Body mass index
การออกกำลังกาย
Exercise
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ -- บุคลากร
Huachiew Chalermprakiet University -- Employees
Issue Date: 2023
Abstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษานี้คือเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างระดับกิจกรรมทางกายและดัชนีมวลกายในบุคลากรในสำนักงานของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ โดยมีอาสาสมัครที่ยินยอมเข้าร่วมการศึกษาจากสำนักงานต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั้งหมด 168 คน และได้ทำการคัดเลือกโดยใช้เกณฑ์คัดเข้า และ คัดออก ตลอดจนเกณฑ์ของคำแนะนาของแบบสอบถามกิจกรรมทางกายนานาชาติอย่างย่อ จึงสามารถคัดแบบสอบถามที่จะนำไปใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้ทั้งหมด 103 คน โดยเป็นเพศชาย 26 คน และ เพศหญิง 77 คน การประเมินด้วยแบบสอบถามกิจกรรมทางกายนานาชาติอย่างย่อจะเป็นการประเมินกิจกรรมทางกายที่ผ่านมาอย่างน้อย 7 วัน โดยข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามถูกนาไปคำนวณตามสูตร METs x minutes x days ซึ่งแสดงผลเป็นค่า MET.min/wk โดยค่ากิจกรรมทางกาย (MET หรือ Metabolic equivalent) เป็นค่าคงที่โดยกิจกรรมระดับเบาหรือการเดิน มีค่าเท่ากับ 3.3 METs, ระดับปานกลาง เท่ากับ 4 METs, และ ระดับหนักเท่ากับ 8 METs หลังจากได้ข้อมูลจากการคำนวณแล้ว ต่อมานำข้อมูลที่ได้มาแปลผลแบ่งระดับกิจกรรมทางกายตาม IPAQ guideline โดยแบ่งเป็น 3 ระดับคือ ระดับเบา ปานกลาง และ หนัก จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าระดับกิจกรรมทางกายไม่มีความสัมพันธ์กับค่าดัชนีมวลกาย อย่างไรก็ตามพบว่าร้อยละ 50.48 ของบุคลากรในสำนักงานมีดัชนีมวลกายอยู่ในกลุ่มที่มีน้าหนักเกิน และ อ้วน ดังนั้นระดับกิจกรรมทางกายอาจไม่ใช่ปัจจัยเพียงปัจจัยเดียวที่ส่งผลต่อระดับค่าดัชนีมวลกายแต่อาจมีผลจากปัจจัยอื่น ๆ ด้วยเช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหาร เป็นต้น
The purpose of this study was to investigate the relationship between physical activity levels and body mass index (BMI) of office workers in Huachiew Charlermprakiet University. One hundred and sixty-eight volunteers were included in the study. According to the inclusion, exclusion criteria, and criteria of short-form IPAQ (International Physical Activity Questionnaire), the data from 103 office workers (26 males and 77 females) were used to analyze. The IPAQ (short form) was used to evaluate last 7 days of physical activity. The data from the questionnaire were used to calculate by formula: METs x minutes x days, and the physical activity information was presented in MET.min/wk. The IPAQ guideline provides the MET (Metabolic equivalent) values for each activity (walking = 3.3 METs, moderate activity = 4 METs, and vigorous activity = 8 METs). Then, all physical activity data were categorized into 3 levels (low, moderate, and high), following the short-form IPAQ guideline. The result showed that BMI did not correlate with the physical activity levels, and the study found that 50.48% of office workers are classified in overweight and obesity. Therefore, physical activity is not only one factor that impact to BMI, but also other factors such as food consumption behavior.
Description: Proceedings of the 10th National and International Conference on "Research to Serve Society", 29 June 2023 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. (e-Conference on Zoom) p. 70-79.
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2771
Appears in Collections:Physical Therapy - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Relationship-between-physical-activity-levels.pdf642.68 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.