Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2859
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุติระ ระบอบ-
dc.contributor.advisorChutira Rabob-
dc.contributor.authorดวงฤทัย สินเจริญ-
dc.contributor.authorDoungruethai Sincharoen-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.date.accessioned2024-09-22T10:25:34Z-
dc.date.available2024-09-22T10:25:34Z-
dc.date.issued2015-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2859-
dc.descriptionการศึกษาอิสระ (กจ.ม.) (การจัดการอุตสาหกรรม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2558en
dc.description.abstractการศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการปฏิบัติในขั้นตอนการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรค แนวทางแก้ไขในการขอรับรองมาตรฐานอาหารฮาลาลและขออนุญาตใช้เครื่องหมายฮาลาลของผู้ประกอบการสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ประเภทอาหาร จังหวัดฉะเชิงเทรา ขอบเขตของการศึกษา คือ ตัวแทนสถานประกอบการที่ประสบความสำเร็จในการได้รับการรับรองมาตรฐานอาหารฮาลาลเป็นผู้ให้ข้อมูล ประเภทผู้ประกอบการเป็นวิสาหกิจชุมชนขนาดกลางและขนาดย่อม ใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธี แบบเจาะจง จำนวน 2 บริษัท ในการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ ใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการศึกษา ผลการศึกษา พบว่า ขั้นตอนการดำเนินการในการขอรับรองมาตรฐานอาหารฮาลาลของผู้ประกอบการเป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย เรื่อง ข้อกำหนดการตรวจรับรองกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ฮาลาล พ.ศ. 2554 เรื่อง การตรวจรับรองฮาลาล ในด้านปัญหาและอุปสรรคพบมากในขั้นเตรียมการในด้านบุคลากรและด้านการผลิต รองลงมา คือ ด้านงบประมาณ และสถานที่ ตามลำดับ และพบปัญหาและอุปสรรคน้อยในขั้นยื่นคำขอและพิจารณาคำขอ ขั้นการตรวจโรงงานและสถานประกอบการ ขั้นตอนการติตตามและประเมินผล โดยเป็นปัญหาจากภายนอกองค์กร ในขั้นพิจารณาผลการตรวจสอบและให้หนังสือรับรองไม่พบปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคจากปัญหาภายในองค์กร สามารถดำเนินการแก้ไขได้ทั้งหมด ในส่วนปัญหาจากภายนอก มีปัญหาด้านงบประมาณค่าธรรมเนียมต่างๆ ในการขอรับรองมาตรฐานอาหารฮาลาล ซึ่งไม่สามารถดำเนินการแก้ไขได้en
dc.description.abstractThis research’s objective is to study guideline of practices in the operating procedure, problems and obstacles and solutions in applying for Halal food certification and Halal mark using permission of One Tambon One Product enterpreneurships, Food Category in Chachoensao Province. The research’s scope involved the agent of the organizations. The company’s products received Halal Food certification as the information provider. The type of business is small and medium community enterprise. 2 samples were selected with purposive method. This research is quantitative. A structured questionnaire was employed in this research.The research results found that the operating procedure in applying for Halal food standard certification was in accordance with the announcement of the Central Islamic Council of Thailand on Halal Product Manufacturing Certification Provisions B.E. 2554 (2011) regarding Halal Certification. The problems and obstacles were mostly found in the preparation step of employees and manufacturing. Next were found in the preparations of budget and location, respectively. Only little problems and obstacles were found in the request submission and consideration process, factory and operating location examination and follow-up and evaluation, which were external factors of the organization. No problems or obstacles were found in results consideration and the certification granting process. The solutions could be implemented to solve all external problems and obstacles. A problem occurred in the budget allocation for various fees in applying for Halal food standard certification but it was impossible to resolve.en
dc.language.isothen
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectอาหารฮาลาล -- มาตรฐานen
dc.subjectHalal food -- Standarden
dc.subjectโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์en
dc.subjectOne Tambon One Product Projecten
dc.titleแนวทางการพัฒนาความสำเร็จของผู้ประกอบการสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในการขอรับรองมาตรฐานอาหารฮาลาล : กรณีศึกษา ผู้ประกอบการสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ประเภทอาหาร จังหวัดฉะเชิงเทราen
dc.title.alternativeDevelopment Approaches for Achievement of One-Tambon One-Product (OTOP) Entrepreneurships in Applying for Halal Food Standard Certification : Case Study of OTOP Entrepreneurships, Food Category Chachoengsao Provinceen
dc.typeIndependent Studiesen
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการจัดการอุตสาหกรรมen
Appears in Collections:Business Administration - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Development-Approaches-for-Achievement-of-One-Tambon-One-Product.pdf
  Restricted Access
22.58 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.