Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2902
Title: การศึกษาพยาธิในหอยเชอรี่จากบ่อเลี้ยงปลานิลในพื้นที่ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ประเทศไทย
Other Titles: A study of parasite in Pomacea canaliculata which Oreochromis niloticus ponds in Muang District, Samutprakarn Province, Thailand
Authors: ณัฐสิมา เชยมาน
สุพัตรา แก้ววงษ์
ระพีพันธุ์ ศิริเดช
Natsima Chaiman
Supattra Kaewwong
Rapipan Siridet
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology. Student of Bachalor of Science and Technology
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology. Student of Bachalor of Science and Technology
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology.
Keywords: หอยเชอรี
Pomacea canaliculata
ปลานิล – ไทย – สมุทรปราการ
Oreochromis niloticus – Thailand – Samut Prakarn
พยาธิตัวกลม
Nematodes
พยาธิเส้นด้าย
Oxyurida
เซอร์คาเรีย
Cercaria
โรคติดเชื้อปรสิต
Parasitic infection
Issue Date: 2018
Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพยาธิในหอยเชอรี่ อัตราความชุกของพยาธิและลักษณะทางพยาธิสภาพของลำไส้หอยเชอรี่ โดยเก็บตัวอย่างหอยเชอรี่จากบ่อเลี้ยงปลานิลในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2560 จำนวน 100 ตัว โดยการศึกษาพยาธิในหอยเชอรี่จะแบ่งออกเป็น 2 วิธี ได้แก่การศึกษาด้วยวิธี shedding ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอ (stereoscopic microscope) พบพยาธิปากขอ 57% ไส้เดือนน้ำ 65% และหนอนแดง 7% จากนั้นนำมาศึกษาด้วยวิธี crushing ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ธรรมดาแบบใช้แสง (light microscope) พบพยาธิปากขอ 88% พยาธิเส้นด้าย 13% ไส้เดือนน้ำ 4% และพบตัวอ่อนของพยาธิระยะเซอร์คาเรียในกลุ่มของพยาธิใบไม้จำนวน 1% และจากการศึกษาลักษณะทางเนื้อเยื่อวิทยาของลำไส้หอย ไม่พบความผิดปกติของเนื้อเยื่อ ทั้งนี้ความชุกของพยาธิและสิ่งมีชีวิตอื่นๆที่พบขึ้นอยู่กับช่วงอายุของหอย ฤดูกาล แหล่งน้ำในแต่ละภูมิภาคที่เลือกมาทำการศึกษา ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้อาจเป็นประโยชน์ด้านสาธารณสุขและเป็นแนวทางในการป้องกันการเกิดโรคติดเชื้อปรสิต
The aim of this study was to determine the infection rate of parasite in Pomacea canaliculata and histophatological study of intestinal in the population from Oreochromis niloticus ponds in Muang District, Samutprakarn province from June to September 2017. Parasitic infections were detected by shedding method under stereoscopic microscope results showed that hookworm infection (57%) Dero sp. (65%) and Chironomus sp. (7%). From crushing method under light microscope showed that hookworm infection (88%) Strongyloides stercoralis (13%) Dero sp. (4%) and cercaria of trematode (1%). The histological studied not found abnormalities in the intestinal tissue of snail. The prevalence of parasites and other organism depends on age of snail, seasons and water resources. This information will be beneficial to public health and to prevent parasitic infection.
Description: การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 “วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ก้าวตามศาสตร์พระราชา สู่การพัฒนาชาติอย่างยั่งยืน” (The 6th Academic Science and Technology Conference 2018 : Science, Technology and Innovation: Following the Wisdom of the King for Sustainable National Development) วันพุธที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ (พื้นที่ส่วนขยาย มฉก. 2) : หน้า HS-185 – HS-189
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://drive.google.com/file/d/1zVB-vqbNqfTqr-ZYUmiY8wS2uN1amtOy/view
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2902
Appears in Collections:Science and Technology - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
A-study-of-parasite-in-Pomacea-canaliculata-which-Oreochromis-niloticus-ponds .pdf114.6 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.