Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3069
Title: การตรวจวิเคราะห์ Vibrio parahaemolyticus (tdh+) จากตัวอย่างกุ้งขาวที่จำหน่ายในจังหวัดสมุทรปราการโดยใช้เทคนิคมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์
Other Titles: Detection of Vibrio parahaemolyticus (tdh+) in white leg shrimp distribution in Samutprakran using multiplex PCR
Authors: นฤชล ตันธราพรฤกษ์
เจตน์สฤษฎิ์ คัมภีรกิจ
สุรีย์พร เอี่ยมศรี
Naruchon Tantharapornrerk
Jedsrit Kumpeerakit
Sureeporn Aeamsri
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology. Student of Bachalor of Science and Technology
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology. Student of Bachalor of Science and Technology
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology
Keywords: กุ้งขาวแวนนาไม
Litopenaeus vannamei
วิบริโอพาราฮีโมลัยติคัส
Vibrio parahaemolyticus
การปนเปื้อนของจุลินทรีย์
Microbial contamination
มัลติเพล็กซ์พีซีอาร์
Multiplex PCR
Issue Date: 2015
Abstract: งานวิจัยนี้ศึกษาความไวของเทคนิคมัลติเพล็กพีซีอาร์สำหรับการตรวจสอบ Vibrio parahaemolyticus ในกุ้งขาวโดยใช้ยีนเป้าหมายสำหรับตรวจสอบ V. parahaemolyticus คือ tl (thermolabilehemolysin gene) และ tdh (thermostable direct hemolysin gene) พบว่าความไวของเทคนิคในการตรวจสอบแบคทีเรียโดยตรงจากตัวอย่างกุ้งขาว คือ 103 CFU ต่อกรัม แต่การเพิ่มปริมาณเชื้อก่อนการทำพีซีอาร์ 6 ชั่วโมง จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการตรวจสอบได้ดีขึ้น ดังนั้นจึงมีความเหมาะสมในการนำเทคนิคดังกล่าวมาใช้ในการตรวจสอบและเฝ้าระวังแบคทีเรียนี้ในตัวอย่างกุ้งขาวเมื่อนำเทคนิคมัลติเพล็กซ์มาตรวจสอบการปนเปื้อนเชื้อ Vibrio parahaemolyticus ในกุ้งขาวจำนวนทั้งหมด 60 ตัวอย่าง ซึ่งสุ่มเก็บตัวอย่างจากจังหวัดสมุทรปราการ ช่วงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2557 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2557 พบว่ามีกุ้งขาว 42 ตัวอย่างที่มีการปนเปื้อนเชื้อ V. parahaemolyticus (tl) คิดเป็น 70 เปอร์เซ็นต์ แต่ตรวจไม่พบเชื้อสายพันธุ์ก่อโรคที่มียีน tdh การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าเทคนิคมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์มีประโยชน์ต่อการนำไปใช้เป็นเครื่องมือเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลสำหรับนำไปใช้ในการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของเชื้อ การส่งเสริมให้เกิดสุขาภิบาลที่ดี และลดปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่เกิดจากแบคทีเรียชนิดนี้
The sensitivity of multiplex PCR for the detection of Vibrio parahaemolyticus in whiteleg shrimp was pursued. Multiplex reaction was carried out using two sets of primers targeting genes encoded thermolabilehemolysin (tl) and thermostable direct hemolysin (tdh). The sensitivity of direct detection of bacteria in spiked samples of whiteleg shrimp was shown as 103 CFU/g. The detection efficiency was improved by the addition of 6 hour enrichment step prior to multiplex PCR. A total of 60 samples of whiteleg shrimp were randomly collected from Samutprakranduring August 2014 to September 2014. Total V. parahaemolyticus was detected in 42 samples (70%) using multiplex PCR but virulent-associatedtdh gene of V. arahaemolyticus was not found. The multiplex PCR is a promising technique for detection and monitoring both target organisms which could lead to the management of proper sanitation and decrease public health hazard.
Description: การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 3 “วิทยาศาสตร์เพื่อความสุข: จากงานวิจัยพื้นฐานสู่การค้าเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในอนาคต” (The 3rd Academic Science and Technology Conference 2015) (ASTC2015) “Science for Happiness: from basic research to commerce toward future sustainable development”) วันพฤหัสบดีที่ 28 และวันศุกร์ที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กรุงเทพฯ : หน้า 86-92
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://drive.google.com/file/d/11J3lwk91_PhjVyp-RFb-lKlYQ4to8qnT/view
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3069
Appears in Collections:Science and Technology - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Detection-of-Vibrio-parahaemolyticus.pdf133.98 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.