Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3097
Title: | ภาพสะท้อนสังคมชาวประมงในนวนิยายของ ประชาคม ลุนาชัย |
Other Titles: | Reflections of Fishermen Communities in Novels of Prachakom Lunachai |
Authors: | Xuelian Lu พัชรินทร์ บูรณะกร Patcharin Buranakorn Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts. Student of Master of Liberal Arts. Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts |
Keywords: | ประชาคม ลุนาชัย -- แนวการเขียน Prachakom Lunachai -- Literary style ชาวประมง -- ไทย -- ภาวะสังคม Fisherman -- Thailand -- Social conditions ชาวประมง -- ไทย -- ภาวะเศรษฐกิจ Fisherman -- Thailand -- Economic conditions การวิเคราะห์เนื้อหา Content analysis (Communication) นวนิยายไทย -- ประวัติและวิจารณ์ Thai fiction -- History and criticism |
Issue Date: | 2021 |
Abstract: | การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ภาพสะท้อนสังคมชาวประมงในนวนิยายของประชาคม
ลุนาชัย ขอบเขตงานวิจัยคือศึกษานวนิยายของประชาคม ลุนาชัย ที่มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับชีวิตชาวประมง จำนวน 6 เรื่อง ได้แก่ คนข้ามฝัน ฝั่งแสงจันทร์ กลางทะเลลึก ในกับดักและกลางวงล้อม ไต้ก๋ง เที่ยวเรือสุดท้าย โดยนำเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ (Descriptive Analysis) ผลการวิจัยพบว่า ภาพสะท้อนสังคมชาวประมงในนวนิยายของ ประชาคม ลุนาชัย แบ่งออกเป็น 2 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านชีวิตความเป็นอยู่ของชาวประมงมี 2 ด้าน คือ ชีวิตความเป็นอยู่บนเรือ ที่อยู่อาศัยบนเรือต้องนอนร่วมกับคนจำนวนมากพื้นที่แคบและแออัดไม่มีสิ่งอำนวยความสะดวกในการพักผ่อนที่เหมาะสม อาหารการกินมีอาหารทะเลกินอย่างความอุดมสมบูรณ์มีวิธีการทำอาหารที่หลากหลายส่วนชีวิตความเป็นอยู่บนฝั่งที่อยู่อาศัยใกล้ชิดทะเลแม่น้ำลำคลองมีลักษณะเป็นบ้านไม้ไผ่และบรรยากาศรอบบ้านเงียบสงบการคมนาคม นิยมใช้รถจักรยานยนต์ในการเดินทางไปในที่ต่าง ๆ ที่ไม่ไกลจากบ้านมากนัก 2) ด้านวัฒนธรรมไทยในสังคมชาวประมงพบว่า มีความเชื่อเรื่องแม่ย่านางชาวประมงเซ่นไหว้แม่ย่านางก่อนออกทะเลเพื่อให้นำโชคลาภมาให้ตนและช่วยให้ปลอดภัยในการเดินทางมีความเชื่อในพุทธศาสนาชาวประมงชอบทำบุญไหว้พระทำความดีเพื่อได้รับผลดีต่อชีวิตส่วนประเพณีแต่งงานชาวประมงจะจัดพิธีแต่งงานเช่นเดียวกับคนไทยโดยทั่วไปคือ มีพิธีแห่ขันหมากและการแต่งชุดไทยในงานแต่งงานแต่จะเน้นความเรียบง่ายในการจัดงานเป็นสำคัญ This research aimed to analyze reflections of the society of fishermen in six novels of Prachakom Lunachai, including Kon-kam-fun; Fang-sang-chan; Klang-tale-luek; Nai-kup-duk-lae-klang-wong-lorm; Tai-gong; and Thaew-reu-sod-thy. Research findings were reported as a descriptive analysis. Two aspects of the fishermen society, reflected in the studied novels, were found as the following. 1) Ways of live, both livings of the fishermen – on board and on land – were reflected. The living on board, on fishing ships, was crowded due to many workers but limited space and lacking of facilities; however, rich sea food cooked variously was sufficient. For on land living, mostly in bamboo houses located close to the sea; rivers; or canals, was tranquil; the daily commute mainly depended on motorcycles. 2) Cultural practices were based on traditional beliefs and Buddhism, like worshipping of Ya-ngang, the marine goddess, merit making; worshipping the Buddha images; and doing good conduct wishing for prosperity in life. |
Description: | การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 12 (12th Global Goals, Local Actions: Looking Back and Moving Forward 2021) วันที่ 15 มกราคม 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 12,1 (2021) : 457-466. สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : http://journalgrad.ssru.ac.th/index.php/8thconference/article/view/2343 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3097 |
Appears in Collections: | Liberal Arts - Proceeding Document |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Reflections-of-Fishermen-Communities.pdf | 86.42 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.