Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3107
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิชิต สุขเจริญพงษ์-
dc.contributor.advisorPichit Sukchareonpong-
dc.contributor.authorทนงเกียรติ ตันฑวรักษ์-
dc.contributor.authorThanongkiat Tanthawarak-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.date.accessioned2024-10-23T07:37:57Z-
dc.date.available2024-10-23T07:37:57Z-
dc.date.issued2002-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3107-
dc.descriptionภาคนิพนธ์ (บธ.ม.) (บริหารธุรกิจ) --มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2545en
dc.description.abstractในการดำเนินธุรกิจ สิ่งที่องค์การคาดหวังว่าจะได้ผลตอบแทนจากการดำเนินงาน คือ “กำไร” การบริหารการผลิตจึงเริ่มกลับมามีบทบาทมากขึ้น โดยหันมาเน้นเรื่อง การลดต้นทุนเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน ยิ่งสภาพการแข่งขันทางธุรกิจกอุตสาหกรรมดุเดือนรุนแรงมากเพียงใด เรายิ่งต้องหาวิธีการลดต้นทุนมากขึ้นเพียงนั้น เพื่อที่จะใช้กลุยทธ์ด้านราคาเป้นเกมการต่อสู้กับคู่แข่งเพื่อฉกชิงสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันและสามารถเปลี่ยนวัตถุดิบมาเป็นโอกาส เพื่อให้องค์การอยู่รอดและเติบโตอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนภาคนิพนธ์ฉบับนี้ได้นำเสนอจุดที่เราจะลดต้นทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเห็นผลทันตาก็คือ ในโรงงานในสายการผลิต ในพื้นที่ปฏิบัติการพื้นที่ทำงานจริง แต่การลดต้นทุนจะต้องไม่ลดคุณภาพของสินค้า การลดต้นทุนในความหมายที่แท้จริงก็คือ การตัดลดค่าใช้จ่ายหรือความสูญเสียต่างๆ ในกระบวนการผลิต (Production Process) ให้หมดไปหรือให้เหลือน้อยที่สุด โดยยังสามารถรักษาคุณภาพให้เท่าเดิมได้ ผลที่ได้จากการศึกษาพบว่า ต้นทุนด้านของเสียจากการผลิตเป็นปัจจัยที่ทำให้ต้นทุนสินค้าสูงขึ้น โดยเฉพาะความสูญเสียจากการนำวัตถุดิบที่ไม่มีคุณภาพและความสูญเสียเนื่องจากความผิดพลาดในกระบวนการผลิตดังนั้น การศึกษาจึงได้เริ่มทดลองปรับปรุงทั้ง 5 ปัจจัย คือ คน วัตถุดิบ การตรวจวัดเครื่องจักรและวิธีการผลิต ตามวิธีที่เสนอแนะจะสามารถช่วยลดของเสียที่เกิดขึ้นในสายการผลิตและช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของบริษัทได้ผลการศึกษาครั้งนี้ได้พบประเด็นที่พิจารณาเป็นข้อเสนอแนะ สำหรับโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้นคือ1. ควรจัดระบบการซ่อมบำรุงให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น2. เครื่องจักรจะต้องมีระบบป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุกับพนักงาน3. ควรมีพยาบาลประจำขณะดำเนินการผลิต4. ควรจัดให้มีการฝึกอบรมพนักงานให้พนักงานได้รับความรู้ใหม่ๆ ในด้านต่างๆ รวมทั้งประชาสัมพันธ์ให้พนักงานเข้าใจในการศึกษาปรับปรุงตนเองให้เป็นแรงงานที่มีคุณภาพผู้บริหารระดับสูงและหัวหน้างานควรต้องทำความเข้าใจและสร้างความเข้าใจจนถึงพนักงานระดับปฏิบัติการในกระบวนการผลิต เพื่อร่วมมือร่วมแรงกันปรับปรุง เพื่อลดต้นทุนการผลิตและของเสียที่เกิดขึ้นและพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงานและเพิ่มผลผลิตให้สามารถอยู่รอดหรือชนะคู่แข่งในวงการธุรกิจได้en
dc.language.isothen
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectบริษัท ซัมวา (ไทยแลนด์) จำกัดen
dc.subjectSamwha (Thailand) Co. Ltd.en
dc.subjectตัวเก็บประจุไฟฟ้ายิ่งยวดen
dc.subjectSupercapacitorsen
dc.subjectการบริหารงานผลิตen
dc.subjectProduction managementen
dc.subjectการควบคุมความสูญเปล่าen
dc.subjectLoss controlen
dc.subjectการควบคุมคุณภาพen
dc.subjectQuality controlen
dc.titleการลดต้นทุนการผลิตของผลิตภัณฑ์ตัวเก็บประจุแรงดันสูง กรณีศึกษา : บริษัท ซัมวา (ไทยแลนด์) จำกัดen
dc.title.alternativeCost Reduction in the High Voltage Capacitor Production A Case Study of : Samwha (Thailand) Co., Ltd.en
dc.typeIndependent Studiesen
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineบริหารธุรกิจen
Appears in Collections:Business Administration - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cost-Reduction-in-the-High-Voltage.pdf
  Restricted Access
12.14 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.