Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3138
Title: เทศกาลเช็งเม้ง: กรณีศึกษาเปรียบเทียบชาวจีนแต้จิ๋วในจังหวัดกรุงเทพมหานคร และชาวจีนในเมืองซัวเถา
Other Titles: Qing Ming Festival : A comparative study of practices of the Chao Zhou Chinese in Bangkok and Chao Zhou people in Shan Tou
Authors: Lan Yan Dan
นริศ วศินานนท์
Naris Wasinanon
何福祥
Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies. Student of Master of Chinese Studies
Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies
Keywords: ชาวจีน – ไทย – กรุงเทพฯ
Chinese – Thailand – Bangkok
แต้จิ๋ว
Teochew (Chinese people)
ชาวจีน – ความเป็นอยู่และประเพณี
Chinese -- Social life and customs
เทศกาลเชงเม้ง
Qing ming festival
เทศกาล – จีน
Festivals -- China
ชาวจีน – ซัวเถา
Chinese --- Shan Tou
ชาวจีนโพ้นทะเล
ชาวจีนในต่างประเทศ
Chinese -- Foreign countries
农民 -- 泰国
傣族 -- 社会生活与习俗
中国节日
海外华人
中国人 -- 泰国 -- 曼谷
潮州华人
中国人-- 汕头
清明节
Issue Date: 2017
Citation: วารสารศิลปกรรมบูรพา 20, 1 (2560) : 353-363
Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมาย ลักษณะ และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับของเซ่นไหว้ในเทศกาลเช็งเม้งของ ชาวจีนแต้จิ๋วในจังหวัดกรุงเทพมหานคร และชาวจีนในเมืองซัวเถา สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยศึกษาเปรียบเทียบเทศกาลเช็งเม้ง ในช่วง พ.ศ. 2550-2560 รวมถึงศึกษาเหตุปัจจัยที่ส่งผลต่อกลุ่ม ชาวจีนแต้จิ๋วในจังหวัดกรุงเทพมหานครและชาวจีนในเมืองซัวเถา ข้อมูลหลักได้จากเอกสารทุติยภูมิและปฐมภูมิ ประกอบการ สัมภาษณ์กลุ่มชาวจีนแต้จิ๋วในประเทศไทยและจีนแต้จิ๋วในจีน แล้วนำผลการศึกษาเหล่านั้น นำมาเขียนด้วยการพรรณนาวิเคราะห์ เมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ได้ทรงขึ้นครองราชย์แล้ว ชาวจีนแต้จิ๋วได้เข้ามาทำการค้า และอพยพมายังกรุงธนบุรีเป็น จำนวนมาก ทำให้ประชากรชาวจีนโพ้นทะเลในไทย เพิ่มขึ้นจาก 230,000 คนใน พ.ศ. 2368 เป็น 792,000 คนใน พ.ศ. 2453 และใน พ.ศ. 2475 ประชากรไทยถึง 12.2% เป็นชาวจีนโพ้นทะเล จากการศึกษาเปรียบเทียบพบว่าคนจีนแต้จิ๋วที่อาศัยอยู่ใน กรุงเทพฯ ฉะเชิงเทรา และชลบุรีเป็นส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพ ทำการค้ามากกว่าการเกษตร จากลักษณะนิสัยของชาวจีน พบว่าชาวจีนและลูกหลานจีนมีความอดทน ขยัน ประหยัด ชื่อสัตย์ กตัญญู และยังคงยึดวัตรปฏิบัติตามประเพณีดั้งเดิม ขนบธรรมเนียมเหล่านี้แสดงออกด้วยการเซ่นไหว้บรรพบุรษ ของตน ผ่านเทศกาลในรอบปี จากการศึกษาพบว่า รัฐบาลจีนในปัจจุบันได้กำหนด ให้เทศกาลเช็งเม้งเป็นวัน "เทศกาลทำความสะอาดสุสานของประชาชาติ" เพื่อยกย่องการแสดงออกถึงความกตัญญู รำลึกถึง ญาติมิตรที่ล่วงลับไป เทศกาลเช็งเม้งนี้รัฐบาลประกาศให้มีวันหยุดงาน 3 วัน เริ่มตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ.2550 จาก การศึกษาเปรียบเทียบของที่ใช้เซ่นไหว้ ค้นพบความหมาย เชิงสัญลักษณ์ที่มีอยู่ซึ่งมีทั้งความเหมือน และความแตกต่าง ทว่า ส่วนใหญ่ มีนัยเหมือนกัน ส่วนแก่นแกนของพิธีกรรมที่แฝงอยู่ คือกลไกสำคัญในการแสดงความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ ผลของการเซ่น ไหว้เชื่อว่าวิญญาณบรรพบุรุษจะได้ช่วยปกป้องทำให้ลูกหลาน เจริญรุ่งเรือง ปัจจุบันพิธีกรรมเช็งเม้งในประเทศไทยไม่เปลี่ยนแปลง มากนัก ทว่าในประเทศจีนเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงและมีแนวโน้ม ที่จะเพิ่มขึ้นมากในอนาคต คือ การจ้างคนไปไหว้แทนที่สุสาน การเช่นไหว้ผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ ดังมีเหตุปัจจัยหลายอย่าง ประกอบกัน เช่น ศพเปลี่ยนจากการฝังเป็นการเผา ลูกหลาน ทำงานห่างไกลจากบ้านเกิด เทคโนโลยี สังคมออนไลน์ รูปแบบ ความเชื่อที่ไม่เคร่งครัดเหมือนก่อน เป็นต้น
This research aimed to study the meaning, characteristics and culture as relevant to the Qingming Festival of Chaozhou Chinese in Bangkok, Thailand and in Shantou, China during the year 2007-2020, by comparing as well as studying factors affecting the Chaozhou Chinese population in both areas. The primary data were from the interviews of Chaozhou Chinese in Thailand and China and the secondary data were from literature review. The data were analyzed by using descriptive analysis. During the time that the King Thonburi ruled the kingdom, Chaozhou Chinese came to trade and immigrated in a large number to Thonburi. The population of Chinese overseas in Thailand increased from 230,000 in 1825 to 792,000 in 1910, and in 1932, 12.2% of Thai population was Chinese overseas. The study found that the majority of Chaozhou people lived in Bangkok, Chachoengsao and Chonburi Provinces, having trading careers. Their characters were tolerance, diligence, economizing, honesty, and gratefulness, derived from the traditional customs through the respectful sacred, the Qingming ritual. This ritual continued as the festive tradition. In addition, it was found that Chaozhou Chinese in China had the great Qingming ritual. The Chinese government scheduled Qingming Day as the national day, called “Ancestors Day or Tomb Sweeping Day.” This was organized to commemorate their ancestors together with the entire Chinese nation with three days off, since December 2007. Based on the study, the role of the Qingming ritual of Chaozhou Chinese in Thailand and China were both similar and different. But most of them are the same offerings and respect for their ancestors, or to express gratitude to their ancestors. At present, Trend of change to increase in the future is to hire people to pay respect to the graveyard. Such as paying homage through the computer screen. As a matter of fact, many factors, such as the burial, change from burial to burning. Which has many factors effecting the ritual and ways of life such as social and environmental changes, technology social media mental states, and beliefs.
Description: สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่: https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/art/article/view/5165
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3138
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
QingMing-Festival.pdf86.65 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.